Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
อาหารสำหรับผู้ป่วยเฉพาะโรค - Coggle Diagram
อาหารสำหรับผู้ป่วยเฉพาะโรค
โรคเบาหวาน
ชนิดของเบาหวาน
เบาหวานชนิดที่ 1
เบาหวานชนิดพึ่งอินซูลิน พบร้อยละ 5 –10 พบในคนที่
อายุต่ำากว่า 20 ปี ต้องได้รับอินซูลินด้วยการฉีดหรือใช้เครื่องปั๊มอินซูลินตลอดชีวิต มักจะมีน้้าหนักลดลงอย่างรวดเร็ว อายุสั้น
เบาหวานชนิดที่ 2
เบาหวานชนิดไม่พึ่งอินซูลิน พบมากร้อยละ 90 พบในผู้ป่วยที่มีอายุ 40 ปี ขึ้นไป อาการมักไม่รุนแรงและผู้ป่วยส่วนใหญ่มักจะอ้วน ต้องมีการควบคุมอาหาร การใช้ยาชนิดกินหรือใช้อินซูลินชนิดฉีด
เบาหวานชนิดที่มีความสัมพันธ์กับภาวะทุพโภชนาการ
พบในผู้ป่วยเรื้อรัง โรคขาดโปรตีนและพลังงาน พบในกลุ่มอายุต่ำกว่า 35 ปี ต้องควบคุมภาวะน้้าตาลในเลือดสูงด้วยอินซูลิน
เบาหวานที่พบร่วมกับการเป็นโรคอื่นๆ
พบร่วมกับโรคตับอ่อน โรคต่อมไร้ท่อ โรคที่เกิดจากยาและการใช้สารเคมี ความผิดปกติของอินซูลินหรือตัวรับอินซูลิน และโรคพันธุกรรมบางชนิด
ภาวะที่ความทนต่อกลูโคสบกพร่อง
คนที่ยังไม่เป็นเบาหวาน แต่มีความทนต่อกลูโคสบกพร่องเป็นครั้งคราว พบในผู้สูงอายุ หากทนต่อการพร่องกลูโคสนาน ๆ อาจทำให้เกิดการเปลี่ยนเป็นโรคเบาหวานได้
เบาหวานในหญิงตั้งครรภ์
อาจพบได้ในขณะตั้งครรภ์และ ภายหลังการคลอดบุตร ตั้งแต่ 20 -24 สัปดาห์ ขึ้นไป เกิดจากขณะตั้งครรภ์มีการเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมนในร่างกายและต้านฤทธิ์อินซูลิน
อาการของโรคเบาหวาน
ปัสสาวะบ่อย โดยเฉพาะต้องตื่นมาปัสสาวะตอนกลางคืน
หิวน้ำบ่อย หิวบ่อย รับประทานจุ แต่น้ำหนักลด
ผิวแห้ง เป็นแผลแล้วหายยาก
ตาพร่ามัว ชาบริเวณปลายมือปลายเท้า
หย่อนสมรรถภาพทางเพศ
หลักโภชนบำบัด
กลุ่มที่ 1 อาหารจำพวก ข้าว ก๋วยเตี๋ยว ขนมปัง เผือกมัน ถั่วเมล็ดแห้ง รับประทานอาหารในกลุ่มนี้ได้เช่นเดียวกับคนปกติไม่จ้าเป็นต้องงดหรือจำกัดมากเกินไป
กลุ่มที่ 2 ผักชนิดต่าง ๆ ควรรับประทานให้มากขึ้นในทุกมื้ออาหาร โดยเฉพาะผักใบสีเขียวสดหรือสุก รับประทานได้ตามต้องการ ถ้านำผักมาคั้นเป็นน้้า ควรรับประทานกากด้วย เพื่อจะได้ใยอาหาร
กลุ่มที่ 3 ผลไม้ ควรเลือกรับประทานผลไม้ 1 ชนิดต่อมื้อ ผลไม้ที่ควรรับประทาน เช่น ส้ม ชมพู่ แตงโม ฝรั่ง มะละกอสุก หลีกเลี่ยงผลไม้ที่มีรสหวานจัด
กลุ่มที่ 4 เนื้อสัตว์ ควรเลือกเนื้อสัตว์ชนิดไม่ติดมันและหนัง รับประทานปลาและเต้าหู้ให้บ่อยขึ้น
กลุ่มที่ 5 ไขมัน ควรเลือกใช้น้้ามันพืช เช่น น้้ามันถั่วเหลือง น้้ามันรา น้้ามันถั่วลิสง และน้้ามันปาล์ม ในการประกอบอาหาร ควรหลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารทอด แป้งอบที่มีเนยมาก อาหารที่มีกะทิ
กลุ่มที่ 6 น้้านม ควรหลีกเลี่ยงนมปรุงแต่งรส โยเกิร์ตชนิดครีมปรุงแต่งรส นมเปรี้ยวพร้อมดื่ม ควรเลือกดื่มน้้านมพร่องมันเนย น้้านมไม่มีไขมัน
โรคหัวใจ
อาหารที่ทำให้ระดับไขมันในเลือดสูง
อาหารที่มีกรด
ไขมันอิ่มตัว
ผลิตภัณฑ์จำพวกนม เช่น นมครบส่วน
หรือนมชนิดที่ยังมีไขมันอยู่ครบ
เนื้อสัตว์ที่มีไขมันสูง เช่น เนื้อวัว เนื้อหมู
ผลิตภัณฑ์จากมะพร้าว น้้ามันปาล์ม น้้ามันมะพร้าว
อาหารที่มี
ไขมันทรานส์
เนยเทียม หรือเนยขาว
ขนมอบต่างๆ เบเกอรี่ คุกกี้ ขนมส้าเร็จรูป
อาหารทอดใช้ความร้อนต่อเนื่องนานๆ
อาหารที่มีคอเลส
เตอรอล
ไข่แดง เนื้อสัตว์ไขมันสูง
และผลิตภัณฑ์นมที่มีไขมันสูง
เครื่องในสัตว์ เช่น ตับ
สัตว์ปีก เช่น ไก่ เป็ด
สัตว์น้้าประเภทที่มีเปลือก เช่น หอย กุ้ง ปู
อาหารที่เหมาะกับผู้ป่วยโรคหัวใจ
หลีกเลี่ยงอาหารที่มีไขมันสูง อาหารที่ปรุงด้วยกะทิและอาหารแปรรูป
หลีกเลี่ยงอาหารที่มีคอเลสเตอรอลสูง เช่น เครื่อง
ในสัตว์ ไข่แดง
งดน้้ามันมะพร้าว น้้ามันปาล์ม
หลีกเลี่ยงอาหารทอด และผลิตภัณฑ์เบเกอรี่
หลีกเลี่ยงอาหารที่ท้าจากไข่แดง และไขมันอิ่มตัว
ใช้น้้ามันในการปรุงอาหารแต่พอควร และเลือกใช้
น้้ามันที่มีสัดส่วนของกรดไขมันไม่อิ่มตัว
เลือกดื่มนมประเภทไขมันต่ำ หรือ ไม่มีไขมัน
1 more item...
โรคความดันโลหิตสูง
อาการ
ปวดศรีษะ เวียนหัว มึนงง ตาพร่า
คลื่นไส้ เพลีย เหนื่อยง่าย ใจสั่น
ถ้าเป็นมากปวดบริเวณท้ายทอย
ข้อแนะนำ
รับประทานอาหารที่ไม่เค็มจัด โดยหลีกเลี่ยงอาหารหมักดอง หรืออาหารแปรรูป หลีกเลี่ยงการใช้เกลือ หรือสิ่งปรุงแต่งรส
งด หรือลดการดื่มแอลกอฮอล์
พักผ่อนอย่างเพียงพอ หลีกเลี่ยงความเครียด วิตตกกังวล
ออกกำลังกายแต่พอประมาณ
รับประทานยา และตรวจวัดความดันโลหิตอย่างสม่ำเสมอ ไปพบแพทย์ตามนัดทุกครั้ง
โรคอ้วน
อาหารสำหรับโรคอ้วน
ควบคุมพลังงานที่ควรได้รับต่อวัน
ลดการรับประทานอาหารกลุ่มพลังงานสูง ควรเลือกทาน เช่น ข้าวกล้อง ข้าวซ้อมมือ ลดขนมหวาน
เลือกบริโภคอาหารที่มีพลังงานต่ำ ไขมันต่ำ หวานน้อย ใยอาหารสูง
เลือกดื่ม ชา กาแฟ ที่ไม่ใส่น้ำตาล เลือกดื่มน้ำอัดลมที่ไม่มีน้ำตาล
เลือกเมนูผ่านการปิ้ง นึ่ง อบ ย่าง ต้ม ตุ๋น แกงไม่ใส่กะทิ
เลือกรับประทานกลุ่มเนื้อสัตว์ไขมันต่ำ
คลอเลสเตอรอลต่ำ
โรคไต
อาหารสำหรับโรคไต
อาหารจำกัดโปรตีน
เป็นอาหารที่จำกัดปริมาณโปรตีนให้เหมาะสมกับการทำงานของไตมักกำหนดให้ประมาณ 20 – 40 กรัมต่อวัน โปรตีนที่ใช้ ควรเป็นโปรตีนที่มีคุณภาพสูงเมื่อจำกัดโปรตีนในอาหาร ควรให้อาหารที่มีพลังงานมาก
อาหารเพิ่มโปรตีน
เป็นอาหารที่กำหนดให้โปรตีนสูง เพื่อชดเชยโปรตีนที่สูญเสียไปในปัสสาวะในผู้ป่วยที่มี การสูญเสียโปรตีนออกทางปัสสาวะ ผู้ป่วยไตวายเรื้อรังที่ได้รับการรักษาด้วยการล้างไตผ่านทางช่องท้อง ควรได้รับโปรตีนวันละ 1.2 – 1.5 กรัม ต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม สำหรับผู้ที่ได้รับการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม ควรได้รับโปรตีนวันละ 1-1.2 กรัมต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม
อาหารจำกัดโซเดียม
อาหารลดเกลือ เป็นอาหารที่มีโซเดียมน้อย ใช้สำหรับผู้ป่วยที่มีอาการบวม ความดันโลหิตสูง หรือหัวใจวาย
อาหารเพิ่มโซเดียม
ใช้ในผู้ป่วยที่มีการขับถ่ายโซเดียมออกทางไตมากโดยการกินอาหารเหล่านี ให้มากขึ้น ได้แก่ ใช้เครื่องปรุงรสเค็มในการปรุงอาหาร เช่น เกลือ น้ำปลา กินเนื้อสัตว์ที่ปรุงเค็มให้มากขึ้น
อาหารจำกัดโปตัสเซียม
ใช้ในผู้ป่วยที่ไตขับถ่ายของเสียได้น้อย ตามปกติโปตัสเซียมจะมีในอาหารทุกชนิด แต่มีมากในเนื้อสัตว์ ไข่ น้ำนม ผัก และผลไม้
อาหารเพิ่มโปตัสเซียม
ใช้ในผู้ป่วยโรคไตระยะปัสสาวะมาก ผู้ป่วยควรเลือกกินเนื้อสัตว์ ผัก ผลไม้ที่มีโปตัสเซียมมากโดยเฉพาะ น้ำส้ม และผลไม้แห้ง
อาหารจำกัดฟอสเฟต
2 more items...