Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 7 การจัดทำรายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา, นางสาว วิศรุตา…
บทที่ 7 การจัดทำรายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา
SAR
เอกสารรายงานผลประเมินตนเองตามองค์ประกอบและตัวบ่งชี้คุณภาพและเกณฑ์ตามที่ระบุไว้ของสถานศึกษา และนำเสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัด
วัตถุประสงค์ของการจัดทำ SAR
เพื่อนำเสนอการพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาในรอบปีที่ผ่านมาต่อคณะกรรมการบริหารโงเรียน หน่วยงานต้นสังกัด แะเผยแพร่ต่อสาธารณชน
เพื่อเป็นข้อมูลในการจัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
ประโยชน์
ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่ายได้รับทราบผลการพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา เพื่อให้การช่วยเหลืออย่างเหมาะสม
สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชนสำนักงานศึกษาธิการจังหวัด สำนักงานการศึกษาเอกชนจังหวัด มีฐานข้อมูลในการกำหนดนโยบายการพัฒนาการจัดการศึกษา
สถานศึกษามีข้อมูลสารสนเทศเชิงประจักษ์ ช่วยปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการปฏิบัติงานตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ร่วมกัน
สำนักงานรับรองมาตรฐานและการประเมินคุณภาพการศึกษา ใช้SAR เพื่อประเมินคุณภาพภายนอก
สถานศึกษามีข้อมูลการพัฒนาคุณภาพ การจัดการศึกษาทั้งด้านจุดเด่น จุดควรพัฒนา และข้อจำกัด
การประเมินคุณภาพภายใน
เป็นระบบและกลไกในการควบคุม ตรวจสอบ และประเมินผลการดำเนินงานของสถานศึกษา
เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษาอย่างต่อเนื่อง
เป็นการประเมินคุณภาพการศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
หลักการสำคัญ
จุดมุ่งหมาย คือ พัฒนาคุณภาพให้เกิดขึ้นกับผู้เรียน
เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารจัดการและการทำงานของบุคลากรทุกคนในสถานศึกษา
การประเมินคุณภาพภายใน เป็นหน้าที่ของบุคลากรทุกคนในสถานศึกษา
วัตถุประสงค์
เพื่อนำผลการประเมินคุณภาพภายในมาใช้เป็นข้อมูลประกอบในการตัดสินใจวางแผนพัฒนาและปรับปรุง
เพื่อพัฒนาระบบการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
เพื่อตรวจสอบคุณภาพและผลการปฏิบัติงานของสถานศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
เพื่อนำข้อมูลผลการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาไปจัดทำรายงานประจำปี
ขั้นตอนการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษาและจัดทำรายงานการประเมินตนเอง SAR
เขียนรายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา
นำเสนอคณะกรรมการสถานศึกษาพิจารณาให้ความเห็นชอบ
รวบรวมข้อมูลสารสนเทศ
รายงานและเปิดเผยต่อผู้เกี่ยวข้อง
แต่งตั้งคณะทำงาน
การพัฒนาสถานศึกษาให้มีคุณภาพอย่างต่อเนื่อง
แนวทาง
1.การใช้ข้อมูลเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา
ระยะ 2 วางแผนการใช้ข้อมูล
ระยะ 3 การลงมือปฏิบัติงาน
ระยะ 1 การจัดเตรียมข้อมูล
การจัดการความรู้
การใช้ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพพัฒนางานและการเรียนรู้
แนวทางพิจารณา SAR ตามหลักเกณฑ์ของ สมศ.
มาตรฐานที่1 คุณภาพของเด็ก
มาตรฐานที่2 กระบวนการบริหารและการจัดการ
มาตรฐานที่3 การจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ
นางสาว วิศรุตา จันทร์สีมุ่ย 61202315