Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย Simple Harmonic Motion : SHM,…
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
Simple Harmonic Motion : SHM
ลักษณะสำคัญของการเคลื่อนที่แบบฮาร์โมนิกอย่างง่าย
**
:<3:
การมีความเร่งแปรผันตรงกับการกระจัด แต่มีทิศทางตรงกันขจ้าม โดยทิศของความเร่งจะเป็นทิศเดียวกับแรง และแรงจะต้องเป็นแรงเข้าหาจุดสมดูลใน
การเคลื่อนที่แบบฮาร์โมนิกอย่างง่าย (Simple Harmonic Motion : SHM) คือ การเคลื่อนที่กลับไปมาซ้ำทางเดิมโดยผ่านตำแหน่งสมดุล และมีคาบของการเคลื่อนที่คงตัว เช่น การเคลื่อนที่ของวัตถุติดปลายสปริง การสั่นของสายเครื่องดนตรี การแกว่งของลูกตุ้มนาฬิกา
:recycle:แรงกับการสั่นของมวลติดปลายสปริงและลูกตุ้มอย่างง่าย
เมื่อวัตถุเคลื่อนที่ออกจากตำแหน่งสมดุล จะมีแรงดึงวัตถุกลับมา เป็นแรงที่ทำใ้วัตถุเคลื่อนที่กลับไปกลับมาซ้ำทางเดิม เรียกแรงนี้ว่า
แรงดึงกลับ
ลูกตุ้มอย่างง่ายคือ ลูกตุ้มที่ประกอบด้วยมวลขนาดเล็ก ตามอุดมคติเป็นจุด แขวนที่ปลายด้ายหรือเชือกอ่อน โดยธรรมชาติวัตถุแขวนห้อยในแนวดิ่งเป็นตำแหน่งสมดุล
ความถี่เชิงมุมของการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย มีความสัมพันธ์กับค่าคงตัวของสปริง และมวลของวัตถุที่ติดกับสปริง
:red_flag:ปริมาณที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
1*
.ความถี่ (f) คือ จำหน่วยรอบของการเคลื่อนที่ใน 1 วินาที หน่วยเป็น เฮิรตซ์
2
.การขจัด คือระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ไปโดยนับจากจุดสมดุล
3
.คาบ (T) คือ เวลาในการเคลื่อนที่ครบ 1 รอบ หน่วยเป็นวินาที (s)
4
.แอมพลิจูด ตือ ระยะทางมากที่สุดที่วัตถุจะสามารถเคลื่อนที่ไปได้ โดยนับจากจุดสมดุลเช่นเดียวกัน อาจพิจารฯาได้ว่า แอมพลิจูดคือการขจัดที่มีปริมาณมากที่สุด
:star:ความถี่ธรรมชาติและการสั่นพ้อง
เมื่อลูกตุ้มมีความถี่ค่าหนึ่ง เรียกความถี่นี้ว่า
ความถี่ธรรมชาติ
เป็นลักษณะเฉพาะของแต่ละระบบ
เมื่อลูกตุ้มมีความถี่ค่าหนึ่ง เรียกความถี่นี้ว่า
ความถี่ธรรมชาติ
เป็นลักษณะเฉพาะของแต่ละระบบ
เมื่อเราออกแรงกระทำให้วัตถุสั่นด้วยแรงหรือพลังงานที่มีความถี่ใกล้เคียงหรือเท่ากับความถี่ธรรมชาติ จะทำให้วัตถุนั้นสั่นด้วย แอมพลิจูดสูงสุด ระบบดูดซับพลังงานได้มากที่สุดเมื่อเทียบกับความถี่อื่นๆเรียกว่า
การสั่นพ้อง
:
นางสาวกชกร วังจันทร์ ม.5/8 เลขที่13ก