Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเตรียมความพร้อมของสถานศึกษาเพื่อรับการประเมินคุณภาพภายนอก - Coggle…
การเตรียมความพร้อมของสถานศึกษาเพื่อรับการประเมินคุณภาพภายนอก
ความหมาย หลักการ แนวคิดและวัตถุประสงค์ของการประเมินคุณภาพภายนอก
ความหมายของการประเมินคุณภาพภายนอก
การประเมินคุณภาพการจัดการศึกษา การติดตาม การตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา โดยผู้ประเมินภายนอกที่
หลักการ แนวคิดสำคัญของการประเมินคุณภาพภายนอก
หลักการ
ต้องมีความเชื่อมโยงกับระบบประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาและหน่วยงานต้นสังกัด
ต้องมีความท้าทายและช่วยส่งเสริมให้เกิดการพัฒนาและยกระดับคุณภาพของสถานศึกษาสู่สากลให้เป็นไปตามนโยบายปฏิรูปการศึกษาของประเทศ
แนวคิดสำคัญ
ใช้กลไกการประเมินคุณภาพภายนอกเพื่อกระตุ้นและจูงใจให้เกิดการพัฒนาและยกระดับคุณภาพการศึกษา
เน้นการประเมินเพื่อยืนยันคุณภาพของระบบประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา รับผิดชอบในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษาชาติ
ให้ความสำคัญกับการประเมินที่มุ่งสู่การพัฒนาแบบยั่งยืน
เปิดโอกาสให้สถานศึกษาสร้างความโดดเด่น หรือเป็นต้นแบบในการพัฒนา
วัตถุประสงค์ของการประเมินคุณภาพภายนอก
. เพื่อตรวจสอบยืนยันสภาพจริงในการดำเนินงานของสถานศึกษา และประเมินคุณภาพการศึกษา
เพื่อให้ได้ข้อมูลซึ่งช่วยสะท้อนให้เห็นจุดแข็งจุดอ่อนของสถานศึกษา
เพื่อช่วยเสนอแนะแนวทางปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการศึกษา
เพื่อส่งเสริมให้มีการพัฒนาคุณภาพและประกันคุณภาพภายในอย่างต่อเนื่อง
เพื่อรายงานผลการประเมินคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา
กรอบแนวทางการประเมินคุณภาพภายนอก
ส่วนที่ 1 การประเมินคุณภาพมาตรฐาน
ส่วนที่ 2 การประเมินความโดดเด่น
วิธีการประเมินคุณภาพภายนอก
สถานศึกษาประเมินตนเอง (Self-Assessment) แล้วจัดส่งรายงานการประเมินตนเองให้หน่วยงานต้นสังกัดวิเคราะห์ SAR ส่งให้สมศ.
สมศ. วิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานของสถานศึกษา (Pre-Analysis) จากฐานข้อมูลของหน่วยงานต้นสังกัด
คณะผู้ประเมินภายนอกประชุมพิจารณาผลการดำเนินงานของสถานศึกษา ร่วมกับวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐาน
คณะผู้ประเมินภายนอกลงพื้นที่ตรวจเยี่ยม (Site Visit) เพื่อประชุมเสวนา
คณะผู้ประเมินภายนอกจัดทำรายงานผลการประเมินคุณภาพภายนอก (EQA Report)
แนวทางพิจารณาคุณภาพในการประเมินคุณภาพภายนอก
ความเหมาะสม/เป็นไปได้ (Propriety / Feasibility)
ความเป็นระบบ (Systematic)
ความเชื่อถือได้ (Validity / Credibility)
ประสิทธิผล (Effectiveness)
นวัตกรรม (Innovation)
เป็นแบบอย่างที่ดี (Best Practice)
การเตรียมความพร้อมของสถานศึกษา เพื่อรับการประเมินคุณภาพภายนอก
บทบาทของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
ระดับสถานศึกษา
สถานศึกษาแต่ละแห่งจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน
จัดให้มีระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
สถานศึกษาแต่ละแห่งให้ความร่วมมือกับสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา
ระดับสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ศึกษา วิเคราะห์ รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาตลอดจนให้คำปรึกษา
รวบรวมและสังเคราะห์ SAR และจัดส่งไปยังสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) เพื่อใช้เป็นข้อมูลและแนวทางในการประเมินคุณภาพภายนอก
ติดตามผลการดำเนินงาน ปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพ
ให้ความร่วมมือกับสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมิน
อาจมอบหมายบุคคลที่ไม่ได้เป็นผู้ประเมินเข้าร่วมสังเกตการณ์และให้ข้อมูลเพิ่มเติม
แนวทางการเตรียมความพร้อมของสถานศึกษา เพื่อเข้ารับการประเมินคุณภาพภายนอก
ช่วงที่ 1 ก่อนการรับประเมินคุณภาพภายนอก
ช่วงที่ 2 ระหว่างรับ การประเมิน คุณภาพภายนอก
ช่วงที่ 3 หลังเสร็จสิ้นการประเมินคุณภาพภายนอก
ตัวอย่างแนวทางการเตรียมข้อมูล/ร่องรอยหลักฐานเชิงประจักษ์
“จุดเปลี่ยน 3 ประการ” ที่สำคัญในการประเมินฯ รอบสี่ของ สมศ.
การใช้ “กรอบแนวทางการประเมินฯ” แทน “มาตรฐานการประเมินฯ”
เน้นการประเมินเชิงคุณภาพ
เน้นการประเมินเพื่อพัฒนา ผลการประเมินฯ ไม่มี ได้/ตก หรือ รับรอง/ไม่รับรอง
กรอบแนวทาง รูปแบบและวิธีการประกันคุณภาพภายนอกภายใต้สถานการณ์ COVID-19
หลักการประเมินคุณภาพภายนอก ภายใต้สถานการณ์ COVID-19
การจัดการเรียนการสอนเปลี่ยนจาก ONSITE เป็นรูปแบบ ONLINE
วิธีการประเมินคุณภาพภายนอก สอดคล้องกับการประกันคุณภาพภายใน
การประเมินคุณภาพภายนอก
ระยะแรก รูปแบบการประเมิน เป็นการวิเคราะห์ SAR
ระยะสอง รูปแบบการประเมิน เป็นแบบตรวจเยี่ยม