Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การวินิจฉัยการตั้งครรภ์ A1E23DAD-C9C8-4EAB-B3AE-32CF171D24AC - Coggle…
การวินิจฉัยการตั้งครรภ์
อาการและอาการแสดงที่คาดว่าหรือสงสัยว่าจะต้ังครรภ์ (presumptive signs of pregnancy)
เกิดขึ้นในระยะแรกที่สังเกตและสงสัยว่าตนเองต้ังครรภ์
ข้อมูลส่วนใหญ่เป็น
subjective data
ขาดประจำเดือน (Amenorrhea)
กรณีตั้งครรภ์
สุขภาพดี
ขาดประจำเดือน ของเดือนมานานกว่า 10 วัน
น่าเชื่อถือได้ว่าตั้งครรภ์
กรณีไม่ตั้งครรภ์
มีความเครียด
เบื่ออาหาร
ออกกำลังกายหักโหม
มีความผิดปกติของต่อมไทรอยด์ (Thyroid gland)
รับประทานยาบางชนิด
คลื่นไส้/อาเจียน (Nausea/Vomiting)
กรณีตั้งครรภ์
พบได้ในสัปดาห์ที่ 4-14 พบมากในสัปดาห์ที่ 8-12 เรียก
อาการแพ้ท้อง
เนื่องจาก estrogen เพิ่มขึ้น
กรณีไม่ตั้งครรภ์
มีความเครียด
มีภาวะผิดปกติของระบบทางเดินอาหาร/ติดเชื้อ H. pylori
น้ำตาลในเลือดต่ำ จากเบาหวาน
รับประทานยาบางชนิด
มีภาวะที่จิตใจประบบทบาทตนเอง
ถ่ายปัสสาวะบ่อย (Urinary frequency)
กรณีตั้งครรภ์
ปัสสาวะบ่อย (ไม่มีอาการปวดแสบหรือมีไข้) เนื่องจากการกรองปัสสาวะที่ไตเพิ่มขึ้น มดลูกโตขึ้นกดเบียดกระเพาะปัสสาวะ
กรณีไม่ตั้งครรภ์
มีพฤติกรรมดื่มน้ำมาก
เกิดจากโรค
เบาหวาน
Prolapsed uteri
Myoma uteri
เหนื่อยล้า (Fatigue)
กรณีตั้งครรภ์
เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมนและการเผาผลาญที่เปลี่ยนไป
มักเป็นไตรมาสแรก
กรณีไม่ตั้งครรภ์
เจ็บป่วย
มีความเครียดสูง
นอนหลับพักผ่อนไม่เพียงพอ
ความรู้สึกเด็กดิ้นครั้งแรก (Quickening)
กรณีตั้งครรภ์
รู้สึกว่ามีสิ่งเคลื่อนไหวภายในครรภ์
ครรภ์แรก 18-20 สัปดาห์
ครรภ์หลัง 16-18 สัปดาห์
กรณีไม่ตั้งครรภ์
เกิดจากการเคลื่อนไหวของแก๊สในลำไส้
การเปลี่ยนแปลงของเต้านม (Changes in the breast)
กรณีตั้งครรภ์
เจ็บคัดตึง (Tenderness)
คันเต้านม
รู้สึกแปลบเหมือนถูกของมีคมทิ่มแทงภายในเต้านม (Breast tingling )
หัวนมไวต่อการกระตุ้น
ลานนมมีสีเข้มขึ้นและขยายออก
มีต่อมไขมัน (Montgomary’s glands) โตขึ้น
กรณีไม่ตั้งครรภ์
เกิดเนื้องอกที่ต่อมใต้สมอง (Pituitary tumors)
ตั้งครรภ์เทียม (Psedocyesis)
การเปลี่ยนแปลงของสีผิวและรอยแตกของผิวหนัง
(Increased skin pigmentation and Appearance of abdominal striae)
กรณีตั้งครรภ์
เส้นกลางหน้าท้องมีสีคล้ำ (Linea nigra) ตั้งแต่เหนือหัวหน่าวถึงสะดือ
ผิวหนังแตกเป็นริ้วบริเวณหน้าท้อง (Striae gravidarum) เกิดจากการยืดขยายของเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน cortisol จากต่อมหมวกไตเพิ่มขึ้น
มีฝ้า (Choasma gravidarum) เนื่องจาก estrogen สร้างเม็ดสีเมลานินเพิ่มขึ้น
กรณีไม่ตั้งครรภ์
การใช้ยาคุมกำเนิด
ภาวะอ้วน บวมน้ำ ท้องมาน
การเปลี่ยนแปลงของเยื่อบุช่องคลอด
(Discoloration of vaginal mucosa)
กรณีตั้งครรภ์
Vagina mucosa มีสีคล้ำขึ้นจนเกือบม่วง เรียกว่า
Chadwick’s sign
เกิดจากเลือดมาเลี้ยงเยื่อบุช่องคลอด พบมากเมื่อ 6-10 สัปดาห์
อาการแสดงว่าอาจจะตั้งครรภ์
(probable sings of pregnancy)
หน้าท้องโตขึ้น (Enlargement of the abdomen)
กรณีตั้งครรภ์
หน้าท้องโตขึ้น เนื่องจากมีการเจริญเติบโตของทารก
มดลูกจะโตพ้นเชิงกรานเมื่อตั้งครรภ์มากกว่า 12 สัปดาห์
กรณีไม่ตั้งครรภ์
Pelvic tumor
การหดรัดตัวของมดลกู (Braxton Hicks contractions)
กรณีตั้งครรภ์
การหดรัดตัวไม่สม่ำเสมอ ไม่เจ็บปวด เกิดตลอดระยะการตั้งครรภ์ เนื่องจากมีการไหลเวียนของเลือดที่มดลูกและสนับสนุนการทำงานของทารก
รู้สึกชัดขึ้นเมื่ออายุครรภ์มากกว่า 28 สัปดาห์
กรณีไม่ตั้งครรภ์
Myoma uteri
การเปลี่ยนแปลงของมดลูกและปากมดลูก
กรณีตั้งครรภ์
Goodell’s sign
คลำพบปากมดลูกนุ่มคลายริมฝีปาก
ตรวจพบเมื่ออายุครรภ์ 8 สัปดาห์
Hegar’s sign
เป็นความนุ่มของ isthmus ตรวจโดยทำ Bimanual examination
ตรวจพบเมื่ออายุครรภ์ 6-8 สัปดาห์
McDonald’s sign
มดลูกมีความยืดหยุ่นมาก สามารถหักพับงอกับปากมดลูกได้ง่าย
(Uterocervical junction)
ตรวจพบได้เมื่ออายุครรภ์ 7-8 สัปดาห์
Ladin’s sign
พบบริเวณตรงกลางของมดลูกด้านหน้าตําแหน่งที่เป็นจุดต่อระหว่างมดลูกกับปากมดลูกจะมีความอ่อนนุ่ม
พบเมื่ออายุครรภ์ 6 สัปดาห์
กรณีไม่ตั้งครรภ์
การรับประทานยาคุมบางชนิด
การขยับคลอนทารก (Ballottement)
เป็นการออกแรงกดกระตุ้นมดลูก ทารกจะลอยมากระทบมือผู้ตรวจ เนื่องจากขนาดของทารกยังเล็กและมีน้ำคร่ำมาก ทำให้โยกคลอนทารกได้
สังเกตได้เมื่ออายุครรภ์ระหว่าง 16-18 สัปดาห์
External ballottement
ตรวจโดยวางมือท้ังสองขวางมดลูก ใช้มืออีกข้างหนึ่งกดแรงและเร็วพอประมาณ แรงกดจะผ่านน้ำครํ่ากระทบตัวทารกให้ลอยมากระทบมือตรวจอีกข้างหนึ่ง
ตรวจได้เมื่ออายุครรภ์ประมาณ 24 สัปดาห์
Internal ballottement
ตรวจโดยใช้นิ้วสอดเข้าไปสัมผัสท่ี Anterior fornix และใช้มืออีกข้างกดที่
ยอดมดลูก (Fundus) กระตุ้นมือที่อยู่ในช่องคลอดเบาๆ จะรู้สึกว่าตัวทารกลอยขึ้นลงกระทบมือท้ัง 2 ข้าง
ตรวจได้เมื่ออายุครรภ์ประมาณ 14 สัปดาห์
คลำขอบเขตตัวทารกได้ (Palpation of fetal outline)
กรณีตั้งครรภ์
คลำหน้าท้องได้ขอบเขตของลำตัวทารก
เมื่อประมาณ 22-24 สัปดาห์
กรณีไม่ตั้งครรภ์
เนื้องอก
มดลูกโต
ได้ยินเสียงของหลอดเลือดมดลูก (Uterine suffle)
กรณีตั้งครรภ์
ได้ยินเสียงฟู่เบาๆ เป็นจังหวะ มีอัตราเท่ากับชีพจรของหญิงต้ังครรภ์ เกิดจากการขยายตัวของหลอดเลือดเพื่อไปเลี้ยงมดลูก
กรณีไม่ตั้งครรภ์
Myoma uteri
ระยะหลังคลอดที่มดลูกอยู่สูงเหนือหัวหน่าว
ตรวจพบฮอร์โมน human chorionic gonadotropin (hCG)
กรณีตั้งครรภ์
พบ hCG ในปัสสาวะหรือในเลือด (Pregnancy test)
ตรวจพบได้ประมาณวันที่ 6-12 หลังจากไข่ตก
กรณีไม่ตั้งครรภ์
Molar pregnancy
Ectopic Pregnancy
อาการแสดงว่าต้ังครรภ์แน่นอน
(positive signs of pregnancy)
ได้ยินเสียงหัวใจทารก (Fetal heart sound)
ฟังผ่านผนังหน้าท้องหญิงต้ังครรภ์ ได้ยินเป็นเสียงคู่ประมาณ 110-160 คร้ัง/นาที สม่ำเสมอ เสียงที่ได้ยินมีอัตราเท่ากับเสียง Fetal heart sound คือเสียง Funic souffle เป็นเสียงของเลือดที่ไหลผ่านเส้นเลือดแดงของ
สายสะดือทารกในครรภ์ จะได้ยินเสียงฟู่แหลม
Fetoscope จะได้ยินเสียงสัปดาห์ที่ 17-20
Doppler จะได้ยินเสียงสัปดาห์ท่ี 12-14
เห็นการเคลื่อนไหวและคลำส่วนต่างๆ ของทารกได้
(Fetal movement and fetal part)
สามารถคลำส่วนต่างๆ ของทารก และเห็นการเคลื่อนไหว ทางผนังหน้าท้องได้ชัดเจนเมื่ออายุครรภ์ 20 สัปดาห์
เห็นทารกผ่านคลื่นเสียงความถี่สูง (Ultrasound)
สามารถวินิจฉัยได้ตั้งแต่อายุครรภ์ 5-6 สัปดาห์
เห็นการทำงานของหัวใจเมื่ออายุครรภ์ 6-7 สัปดาห์
การใช้รังสีเอกซเรย์ (Radiological demonstration)
เห็นรูปร่าง กระดูกของทารก ประมาณสัปดาห์ท่ี 16
ไม่ควรใช้วิธีนี้วินิจฉัยการตั้งครรภ์
เนื่องจากรังสีมีผลต่อทารกในครรภ์