Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 14 การจัดการทรัพยากรเพื่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรแบบมีส่วนร่ว…
หน่วยที่ 14
การจัดการทรัพยากรเพื่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรแบบมีส่วนร่วม
ความเคลื่อนไหวในการบริหารจัดการทรัพยากร
สถานการณ์การบริหารจัดการฐานทรัพยากร
ความสัมพันธ์ของฐานทรัพยากรกับบริบทของสังคมไทย
สถานการณ์ฐานทรัพยากร
หลักการบริหารจัดการทรัพยากรร่วม
1) ต้องมีการระบุขอบเขตไว้อย่างชัดเจน
2) ต้องมีความสอดคล้องระหว่างกติกาว่าด้วยการเก็บเกี่ยวทรัพยากรและบำรุงรักษาระบบทรัพยากรกับเงื่อนไขทางสังคมและสิ่งแวดล้อมในพื้นที่
3) คนส่วนใหญ่ที่ได้ร้บผลจากการบริหารจัดการทรัพยากรต้องมีสิทธิในการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจและปรับปรุงกฎกติกาในการจัดการทรัพยากร
4) ต้องมีการกำกับดูแลที่มีประสิทธิผลโดยคนที่มีส่วนได้ส่วนเสีย
5) การลงโทษต้องเป็นไปอย่างค่อยเป็นค่อยไป
6) ต้องมีกลไกในการจัดการความขัดแย้งที่มีต้นทุนต่ำและทำได้ง่าย
7) รัฐบาลรับรู้และให้สิทธิแก่ผู้ใช้ทรัพยากรในการวางกติกาการใช้และจัดการทรัพยากร
8) กติกาและการจัดการทรัพยากรต้องเชื่อมโยงและสอดคล้องกับระบบที่ใหญ่กว่า
สิทธิของชุมชนและการกระจายอำนาจ
สิทธิ
สิทธิมหาชน เกิดจากกฎหมายมหาชนโดยทวั่ ไปเป็นสิทธิในทางการเมือง
สิทธิเอกชน
สิทธิมิใช่ทางทรัพยสิน
สิทธิทางทรัพย์สิน
สิทธิชุมชน
เป็นสิทธิเชิงซ้อน
เป็นขบวนการทางสังคมของชุมชนในการจัดความสัมพันธ์ทางอำนาจระหว่างสมาชิกของชุมชนให้สอดคล้องกับการผลิตที่ทุกคนมีทางเลือกและสามารถเข้าถึงได้
เป็นการให้ชุมชนชาวบ้านมีสิทธิในการกำหนด อนาคตของตัวเองอย่า งเป็นอิสระโดยแท้จริง
4.กระบวนการเกิดสิทธิชุมชนของแต่ละประเภท ที่ไม่ได้เกิดจากความสัมพันธ์ในเชิงพันธสัญญา หากแต่เป็น “กฎเกณฑ์ทางสังคม”
5.กลไกในการบังคับเป็นไปโดยอาศัยวิธีการของแต่ละชุมชน
เป็นอุดมการณ์เพื่อความอยู่รอดของชุมชน
ขึ้นอยู่กับความหลากหลายของฐานทรัพยากรเขตร้อน ทั้งดิน น้ำ และป่า ที่ชุมชนใช้ประโยชน์ร่วมกัน
รูปแบบการกระจายอำนาจ
การแบ่งอำนาจ
การมอบอำนาจ
การโอนอำนาจ
การแปรรูปกิจการของรัฐให้ภาคเอกชนดำเนินการ
การมีส่วนร่วมในการจัดการทรัพยากรของชุมชน
การมีส่วนร่วมเป็นกระบวนการที่ประชาชน ซึ่งประกอบไปด้วยบุคคลกลุ่ม และองค์กร เครือข่ายต่างๆ มีสิทธิหน้าที่และมีอิสระที่จะร่วมในกระบวนการตัดสินใจต่างๆ ที่มีผลต่อเขาทุกขั้นตอน อาทิการตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐทุกระดับ การรับรู้ข้อมูลข่าวสาร การแสดงความเห็นและวิเคราะห์ปัญหา การตัดสินใจกำหนดนโยบาย การวางแผน การจัดการ การได้รับประโยชน์
แนวคิดการมีส่วนร่วม
1.เป็นวิธีการที่ทำให้บรรลุเป้าหมาย
การมีส่วนร่วมเป็นสิทธิและเอกสิทธิ์การมีส่วนร่วมในฐานะสิทธิประชาชนจะต้องไดรับการยอมรับ
การมีส่วนร่วมจะต้องคู่กับความรู้สึกเป็นเจ้าของ
มีความสนใจและประเด็นร่วม
มีข้อตกลงร่วมกัน
ผู้เข้าร่วมต้องมีความเชื่อความศรัทธาร่วมกัน
การมีส่วนร่วมที่เท่าเทียมกัน ต้องมีการกระจายอำนาจ เสริมสร้างโอกาส
หลักการพื้นฐานของการมีส่วนร่วม
อิสรภาพ
ความเสมอภาค
ความสามรถ
ประชาธิปไตย