Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ใหญ่ ระบบหัวใจและหลอดเลือด, นางสาวพิชามญชุ์ เชิงทวี เลขที่ 59,…
การพยาบาลผู้ใหญ่ ระบบหัวใจและหลอดเลือด
Shock
:!!:
Septic shock (จากการติดเชื้อ)
สรุปขั้นการเกิด
1.SIRS
T > 38° C หรือ < 36° C และอาการหนาวสั่น
P >90 ครัง/นาที
R > 20 ครัง/นาที หรือ PaCO2 < 32
WBC> 12,000 เซลล์/ลบ.มม.หรือ < 4,000 เซลล์/ลบ.มม.
Sepsis
มี อาการ SIRS อย่างน้อย 2 อย่าง ร่วมกับ infection
3.Severe sepsis
มี sepsis ร่วมกับ อาการแสดงของ Organ Damage
4.Septic Shock
มี sepsis ร่วมกับมี BP drop ทังทีได้รับสารน้ำชดเชยอย่างเพียงพอ
สาเหตุ
ได้รับ endotoxin ของเชื้อ แบคทีเรีย ไวรัส โพรโทซัว
ทำให้ Vasodilation,ความดันโลหิตลดลง
การพยาบาล
ให้ high-flow oxygen เร็วทีสุด
ควบคุมภาวะเลือดออก โดยกดบริเวณบาดแผลทีมีเลือดออก
ให้นอนยกปลายเท้าสูง เพื่อเพิ่มการไหลเวียนกลับของเลือดกลับเข้าสู่หัวใจมากขึ้น
ให้สารน้ำทดแทน
ให้ยาในอาการรุนแรง
Anaphylactic shock จากการแพ้
อาการ
ผิวหนังมีผื่นแดงเหมือนเป็นลมพิษ
หายใจลําบาก
ความดันโลหิตต่ำ
กระสับกระส่ายร่วมกับหัวใจเต้นเร็วและหายใจเร็วขึ้น
การพยาบาล
ขณะเกิด ให้ epinephrine ทันที
ให้ออกซิเจน จัดท่านอนหงาย
ให้ยาตามอาการ
Hypovolomic shock จากการเสียน้ำ
อาการและอาการแสดง
ชีพจรเร็ว เบา
cyanosis ผิวหนังเย็น ม่วง
ผิวหนัง ลาย (cutis marmorata)
เหงื่อออก ตัวเย็น กระหายน้ำ ปากแห้ง
ความรุนแรง
ระดับที่ 1
เสียเลือด < 750 ml
BP ปกติ
ให้สารน้ำทดแทน Crystalloid
ระดับที่ 2
เสียเลือด 750-1,500 ml
BP ปกติ
ให้สารน้ำCrystalloidทดแทน
ระดับที่ 3
เสียเลือด 1,500-2,000 ml
BP drop
ให้สารน้ำCrystalloid ทดแทน
ให้เลือด
ระดับที่ 4
เสียเลือด >2,000 ml
BP drop
ให้สารน้ำCrystalloid ทดแทน
ให้เลือด
ภาวะหัวใจล้มเหลว (CongestiveHeart failure)
:<3:
Left sided heart failure ล่างซ้าย
อาการและอาการแสดง
ไอ มีเสียง Crepitation เจ็บหน้าอก
หายใจหอบเหนือย นอนราบไม่ได้
อ่อนเพลีย ความดันโลหิตลดลง ผิวซีด/เขียว
ผอมและขาดสารอาหาร
Right sided heart failure ล่างขวา
อาการและอาการแสดง
บวมกดบุ๋ม Pitting Edema
ท้องมาน Ascites
ตับโต
จุกใต้ชายโครงขวา
หลอดเลือดดำที่คอโป่งพอง
การพยาบาล
ให้ Oxygen
ลด afterload ให้ยาขยายหลอดเลือด NTG/Hydralazine/ACEI
ให้ยาขับปสสาวะ Lasix เป็นต้น
ลด Preload นังห้อยขา หรือนอนท่า Fowler’s position
ระวังโปตัสเซียมต่ำ จํากัดน้ำ เกลือ โซเดียม
ให้ยากระตุ้นการทํางานของหัวใจ Digitalis
ไม่ให้ยานี้เมืออัตราการเต้นของหัวใจน้อยกว่า 60 ครั้ง/นาที
EKG arrhythmia (หัวใจเต้นผิดจังหวะ ) และ cardiac arrest (หัวใจหยุดเต้นเฉียบพลัน)
:<3: :!!:
PEA (Pulseless electrical activity)
EKG จะพบในอาการแสดงของผู้ผิดปกติ ตาค้าง หมดสติเรียกไม่รู้ตัว คลําไม่พบชีพจร
การพยาบาลขั้นต้น โดยทำ CPR
Ventricular fibrillation
EKG นี้มักมีสาเหตุจากกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด
จึงไม่แรงพอทีจะมีชีพจร และความดันโลหิต
การพยาบาลขั้นต้นโดย ทํ า CPR ร่วมกับ Defibrillation (กระตุกหัวใจโดยใช้เครื่อง Defibrillation )
หัวใจเต้นช้า (Bradycardia)
คือ
หัวใจเต้นช้า น้อยกว่า 60 ครัง/นาที
แต่ยังคลําชีพจรได้
ร่วมกับมีอาการหน้ามืดเปนลม หมดสติไปชั่วขณะ
การพยาบาล
EKG 12 lead
ให้ยา Atropine
CPR
นวดหน้าอก ผู้ป่วย (CPR)
ขั้ยแรก ให้รีบเรียกทีมมาช่วยเหลือ
ให้ยา Adenaline ตามแผนการรักษา
หาสาเหตุหัวใจหยุดเต้น และรับแแก้ไขโดยด่วน
นางสาวพิชามญชุ์ เชิงทวี เลขที่ 59
รหัสนักศึกษา 62111301061
ชั้นปีที่ 2 รุ่นที่ 37