Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ใหญ่ระบบหัวใจและหลอดเลือด, นางสาวปทุมพร อิ่มจิตต เลขที่ 44 …
การพยาบาลผู้ใหญ่ระบบหัวใจและหลอดเลือด
การประเมินระบบหัวใจและทรวงอก
การซักประวัติ
อาการสำคัญ
Dyspnea
Hypoxemia
Syncope
Palpitations
Chest pain
Pitting Edema
ประวัติความเจ็บป่วยปัจจุบัน
ควรซักถามเกี่ยวกับอาการที่เกิดขึ้นทุกอาการ
ลักษณะของอาการ
ความถี่ของการเกิด อาการนั้นๆ
ระยะเวลาที่มีอาการ
การรักษาที่ได้รับ
ประวัติการเจ็บป่วยในอดีตที่เกี่ยวข้องหรือ สัมพันธ์กับระบบ หัวใจและหลอดเลือด
โรคความดันโลหิตสูง
โรคเบาหวาน
ประวัติข้อมูลทั่วไป
โรคประจำตัว
อุปนิสัย
อายุ
ปัจจัยเสี่ยงของโรค
ประวัติส่วนตัว
การสูบบุหรี่
ชนิดของอาหารที่ชอบรับประทาน
อาชีพ
การตรวจร่างกายระบบหัวใจ
สถานที่ในการตรวจควรเป็นห้องมิดชิด
ขั้นตอนในการตรวจควรประกอบด้วย
-การดู
ดูลักษณะทั่วๆไปของผู้ป่วย
ดูการหายใจของผู้ป่วย
ดูลักษณะเขียวว่าผู้ป่วย มีเล็บปุ้มและดูริมฝีปากว่าเขียวหรือไม่
ดูอาการซีด
-การคลำ
การคลำชีพจรของผู้ป่วย
คลำชีพจรแขนขาพร้อมกันยกเว้นชีพจรที่คอ carotid ห้ามทำพร้อมกัน
การคลำยอดของหัวใจ
การคลำ heave/ lift
การคลำ thrill
-การเคาะ
เคาะเพื่อการประเมินและการตรวจหัวใจไม่เป็นที่นิยม
-การฟัง
นิยมฟังบริเวณลิ้นของหัวใจ
การฟังหัวใจอาจตรวจในท่านอนหงาย นอนตะแคงซ้ายและท่านั่ง ครั้งแรกจะฟังเสียง
เสียง S1 (First sound heart) เป็นเสียงที่เกิดจากการปิดของ Mitral valve และ Tricuspid valve จะได้ยินเสียงต่ำ(Lubb)
เสียง S2 (Second sound heart) เป็นเสียงที่เกิดจากการปิดของ Pulmonary valve และ Aortic valve จะได้ยินเสียงสูงกว่าเสียงแรก (Duff)
การฟังเสียง Murmur
เสียงฟู่เป็นเสียงที่เกิดจากความปั่นป่วนของกระแสเลือด
โรคและกลุ่มอาการที่เกี่ยวข้องกับโรคหัวใจพิการแต่กำเนิด
Marfan’s syndrome จะพบความผิดปกติของลิ้นหัวใจได้บ่อย
Down’s syndrome ร้อยละ 40-60
Ehlers-Danlos syndrome ตรวจพบ hyperextensible joints และมีผิวหนังที่ hyperelastic
Klinefelter’s syndrome มี gynecomastia ลูกอัณฑะเล็ก ลักษณะคล้ายกระเทย รูปร่างสูง
Rubella syndrome เกิดจากมารดาเป็นหัดเยอรมันในระยะ 3 เดือนแรกของ การตั้งครรภ์
โรคและกลุ่มอาการที่เกี่ยวข้องกับโรคของลิ้นหัวใจ
Noonan’ s syndrome กลุ่มนี้โครโมโซมปกติ
Systemic Lupus Erythematosus (SLE)
Infective Endocarditis มีอาการแสดงทางผิวหนัง
Rhumatoid Arthritis มักตรวจพบ Subcutaneous nodules
อาการบวมกดบุ๋ม (Pitting Edema)
ใช้นิ้วชี้กดที่หลังเท้าหรือกระดูกหน้าแข้งใช้ระยะวลาในการกลับคืนตัวของผิวหนัง
การบวมแบ่งออกเป็น 4 ระดับ
1+ กดบุ๋มลงไป 2 มม. มองไม่เห็นชัดเจน รอยบุ๋มหายไปเร็ว
2+ กดบุ๋มลงไป 4 มม. สังเกตได้ยาก หายไปใน 15 วินาที
3+ กดบุ๋มลงไป 6 มม. สังเกตได้ชัด คงอยู่นานหลายนาที
4+ กดบุ๋มลงไป 8 มม. รอยบุ๋มลึกชัดเจน อยู่นานประมาณ 2-5 นาที
การตรวจทางห้องปฏิบัติการและตรวจพิเศษ
CBC
Cardiac enzyme
Creatinine Kin ase-myocardial band (CK-MB)
Lactic dehydrogenase (LDH)
Serum protein troponin T,I
Creatinine Kinase (CK)
การตรวจพิเศษอื่นๆ
การตรวจทางรังสีวิทยา (X-rays)
-การตรวจสมรรถภาพหัวใจด้วย
การออกกำลัง (Exercise stress test)
การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
(Electro cardiogram: EKG)
การตรวจหัวใจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง (Echocardiography)
โรคหลอดเลือดหัวใจเฉียบพลัน (ACS)
คำแนะนำทั่วไปสำหรับผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ
หลีกเลี่ยง/ งดบุหรี่
รับประทานอาหารที่มีไขมันต่ำ ผัก ผลไม้
หลีกเลี่ยงเครื่องดื่มประเภท ชา กาแฟ น้ำอัดลม และเครื่องดื่ม ประเภทมึนเมา
ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ ลดความอ้วน และควบคุมน้ำหนัก
ควรรับประทานยาตามแผนการรักษาให้ครบถ้วน และต่อเนื่อง ไม่ควรหยุดยาเอง หากยาหมดก่อนให้ปรึกษาแพทย์ทันที
ไม่ควรให้เกิดอาการท้องผูก
ควรพบแพทย์ตามกำหนดนัดทุกครั้ง
หากมีอาการผิดปกติให้มาพบแพทย์ก่อนกำหนดได้
การรักษาภาวะกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (STEMI)
การรักษาแบ่งออกเป็น 3 วิธี
การรักษาด้วยวิธีการทำบอลลูน ถ่างขยายหลอดเลือดและใส่ขดลวด ((Percutaneous Coronary Intervention : PCI with Stent)
การรักษาด้วยวิธีการผ่าตัด (Coronary Artery Bypass Graft: CABG)
การรักษาด้วยยาละลายลิ่มเลือด (Anti-Thrombolytic)
การตรวจวินิจฉัย
การสอบถามซักประวัติ
การตรวจร่างกาย
-การจับชีพจร
-การฟังเสียงการเต้นของหัวใจ
การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ (Electrocariogram : ECG,EKG)
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ (Troponin I, Troponin T, CK-MB, SGOT, SGPT, LDH)
การถ่ายภาพรังสีทรวงอก (CXR)
การตรวจคลื่นเสียงสะท้อนหัวใจ (Echocardiography)
การเดินสายพาน (Exercise Stress Test : EST)
การตรวจสวนหัวใจ หรือการฉีดสี (Coronary Angiogram : CAG)
เป้าหมายการรักษา
คงไว้ซึ่งความสามารถทำงานของหัวใจห้องล่างซ้ายและป้องกันภาวะหัวใจล้มเหลว
3ป้องกันและรักษาภาวะแทรกซ้อนของ ACS ที่อาจทำให้ตายได้
ลดการตายของกล้ามเนื้อหัวใจ
หลักการรักษา
การรักษาเบื้องต้น โดย MONA
O = O2 therapy (Oxygen therapy : เมื่อมีข้อบ่งชี้ เมื่อ O2 sat < 94%)
N = Nitrate (ข้อห้าม ในการใช้ Nitrates : 1.มี BP< 50 หรือ > 100)
M = Morphine
A = ASA (Aspirin 160 หรือ 325 mg 1 เม็ด เคี้ยวทันทีข้อห้ามในการให้ : ผู้ที่แพ้ยา ASA และเลือดออกในทางเดินอาหาร)
ลักษณะการเจ็บหน้าอกแตกต่างกัน
-เจ็บหน้าอกจากหลอดเลือดหัวใจตีบ (เลือดไปเลี้ยงไม่พอ / low flow/ Ischemia)
เจ็บแบบแน่นๆ, เสียด, หนักบริเวณกลางหน้าอก หาจุดเจ็บไม่ได้ อย่างน้อย 2 – 3 นาที
ร้าวไปกราม, หัวไหล่, แขนด้านใน
เหงื่อออก, เวียนศีรษะ, คลื่นไส้-อาเจียน, เหนื่อยหอบ
มีอาการเวลาออกแรง, เครียด, หลังอาหารมื้อใหญ่ๆ
อาการทุเลาเมื่อหยุดพัก หรืออมยาอมใต้ลิ้น
-เจ็บหน้าอกจากกล้ามเนื้อหัวใจตาย (Injury/Infarction)
แน่น, เสียด, หนัก บริเวณกลางหน้าอก หาจุดเจ็บ ไม่ได้ อย่างน้อย 20– 30 นาที
ร้าวไปกราม, หัวไหล่, แขนด้านใน
เหงื่อออก, เวียนศีรษะ, คลื่นไส้-อาเจียน, เหนื่อยหอบ
มีอาการขณะพัก, หลังจากออกกำลังรุนแรง
อาการไม่ทุเลาเมื่อหยุดพัก หรืออมยาอมใต้ลิ้น
การพยาบาลก่อนได้รับยา Streptokinase
การซักประวัติก่อนให้ยาเป็นสิ่งสำคัญมาก
-ข้อห้ามใช้อย่างเด็ดขาด
เคยเป็นเนื้องอกในสมอง
เคยได้รับการผ่าตัดใหญ่ , บาดเจ็บรุนแรง หรือได้รับบาดเจ็บที่ศีรษะ ใน 2 สัปดาห์
เคยเป็นอัมพาตเกิดจากเลือดออกในสมอง
เจ็บแปล๊บอย่างรุนแรง ทะลุไปข้างหลัง
-ข้อห้ามที่ผ่อนผันได้
ตั้งครรภ์
เคยทำ CPR (Cardio-pulmonary resuscitation) นานกว่า 10 นาทีหรือ บาดเจ็บจากการทำCPR
เคยได้รับ SK ในระยะเวลา 2 ปี ที่ผ่านมา หรือมีประวัติแพ้ SK
BP > 180/110 mmHg (วัดซ้ำ 2 ครั้ง)
มีปัญหาเลือดออกผิดปกติ/ได้ยาต้านการแข็งตัวของเลือด
การมีประจำเดือนไม่ถือว่าเป็นข้อห้ามในการใช้ยา
อาการเจ็บหน้าอกมีหลายสาเหตุ
-กระดูก
ผิวหนัง
ปอด
-หัวใจ
-กล้ามเนื้อหน้าอก
-ทางเดินอาหาร
การรักษาด้วยยา Streptokinase
มีผลข้างเคียงสูงทำให้เลือดออกมาในจุดสำคัญ
-สมอง
-ช่องท้อง
ปัจจุบันการใช้ Tenecteplacse(TNK) จึงได้รับความนิยม แต่มีราคาสูง
ยา Streptokinase (SK) ยังได้ผลดีที่สุดและจำเป็นต้องใช้ และต้องระมัดระวังสูง
อาการและอาการแสดง
ผู้ป่วยจะมีอาการเจ็บหน้าอกจากกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดไปเลี้ยง
อาจมีภาวะเจ็บหน้าอกจากสาเหตุอื่น ทำให้การวินิจฉัยภาวะ กล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน
การพยาบาลขณะได้รับยา Streptokinase
1.ผสมในสารน้ำ 100 ซีซี ด้วย infusion pump อัตราการไหล 100 ml/hr ชั่วโมง
ควรหยุดยา Nitroglycerine ทุกชนิดในระหว่างที่ได้ยา Streptokinase
หมั่นสอบถามอาการเจ็บแน่นหน้าอก
ประเมินระดับความรู้สึกตัวเป็นระยะ ๆ
ตรวจวัดและบันทึกความดันโลหิต ชีพจร และคลื่นไฟฟ้าหัวใจ ระดับ O2 Sat อย่างน้อยทุก 5 นาที
เฝ้าระวังการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากผลข้างเคียงของ Streptokinase
เฝ้าระวังสังเกตคลื่นไฟฟ้าหัวใจตลอดเวลา
เตรียมเครื่อง Defibrillation เมื่อเกิด VF, VT และช่วยแพทย์ทำ Defibrillation และ CPR
ปัจจัยเสี่ยงของการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด
ปัจจัยเสี่ยงที่ไม่สามารถควบคุมได้
-กรรมพันธุ์
ผู้ที่มีบุคคลในครอบครัวหรือพี่น้องตามกันมาเป็นโรคหลอดเลือดหัวใจ
ผู้ชายอายุน้อยกว่าหรือเท่ากับ 55 ปี
ผู้หญิงอายุน้อยกว่าหรือเท่ากับ 65 ปี
มีโอกาสเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจได้ 2-6 เท่า
-เพศ
เพศหญิงจะมีโอกาสเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจช้ากว่าเพศชายประมาณ 10 ปี
หลังจากหมดประจำเดือนเพศหญิงและเพศชายมีโอกาสเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจได้เท่ากัน
-อายุ
ประมาณ 84 % เสียชีวิตจากโรคหลอดเลือดหัวใจอายุตั้งแต่ 65 ปีขึ้นไป
ในวัยสูงอายุผู้หญิงที่มีภาวะกล้ามเนื้อหัวใจตายจะเสียชีวิตได้มากกว่าผู้ชาย 2 เท่า
อุบัติการณ์การเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจมากขึ้นตามอายุ
ปัจจัยเสี่ยงที่สามารถควบคุมได้
-ระดับไขมันในเลือดสูง
-การสูบบุหรี่
-ความดันโลหิตสูง
-เบาหวาน
-Metabolic syndrome
-โรคอ้วน
-ไม่ออกกำลังกาย
การรักษาด้วยวิธีการทำบอลลูน ถ่างขยายหลอดเลือดและใส่ขดลวด
เป็นกระบวนการที่ทำให้เห็นภาพของ หลอดเลือดหัวใจ โดยการใช้เครื่องฉายเอ็กซเรย์ มีการใส่สายสวนซึ่งเป็นท่อ กลวงยาวขนาดเล็ก
ตำแหน่งที่ทำการฉีดสีและสวนหัวใจ
หลอดเลือดแดงที่แขน
หลอดเลือดแดงที่ขา
การพยาบาลหลังจากฉีดสีสวนหัวใจ
ให้นอนหงายราบห้ามยกศีรษะ เหยียดขาที่ทำผ่าตัดอย่างน้อย 6-8 ชั่วโมง
กรณีทำผ่าตัดที่แขนไม่ต้องนอนราบ แต่เน้นย้ำเรื่องการเหยียดข้อมือให้ตรง ห้ามงอแขน ไม่นอนทันใน 24 ชม.แรก
ประเมิน 6P ทุก 4 ชั่วโมง
ประเมิน Bleeding บริเวณแผลผ่าตัด
ประเมินสัญญาณชีพ
เฝ้าระวังภาวะไตวายเฉียบพลัน
คำแนะนำหลังทำ PCI
1.หลังสวนหัวใจแล้ว 24 ชั่วโมง ผู้ป่วยสามารถอาบน้ำและถูสบู่ได้
2.หลีกเลี่ยงการแช่ตัวในอ่างอาบน้ำ ห้ามทาแป้ง
3.กรณีทำผ่าตัดที่ข้อมือหลีกเลี่ยงการบิด งอ ข้อมือและการเกร็ง
สามารถทำงานทั่วไปได้ ตามปกติ แต่ห้ามยก แบก
การขับรถ ถ้าเป็นการฉีดสีอย่างเดียวควงงดขับรถ 3 วัน ถ้ามีการถ่าง ขยายหลอดเลือดและใส่ขดลวดด้วย ควรงดขับรถ 7 วัน
รับประทานยาต้านเกร็ดเลือดต่อเนื่องตามที่แพทย์สั่ง
หน้าที่ของหลอดเลือดหัวใจ
นำเลือดไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจ
หลอดเลือดหัวใจที่มีสุขภาพดี จะมีผิวด้านในเรียบยืดหยุ่นเลือดไหลผ่านได้สะดวก
ภาวะหัวใจล้มเหลว
หน้าที่ของหัวใจ
หัวใจมีหน้าที่สูบฉีดโลหิตเพื่อนำพาออกซิเจนและธาตุอาหารไปยังทุกส่วนของร่างกาย
ในขณะที่ร่างกายพักผ่อน หัวใจจะมีอัตราการเต้นประมาณ 60-100 ครั้ง ต่อนาที
การจำแนกระดับความรุนแรงและอาการ
NYHA CLASSIFICATION
CLASS I ทำกิจกรรมได้ไม่เกิดอาการเหนื่อย หรือเจ็บหน้าอก
CLASS II มีความจำกัดในการทำกิจกรรม เหนื่อยแต่พักแล้วหาย
CLASS III มีขีดจำกัดในการทำกิจกรรมชัดเจน รู้สึกสบายในขณะพัก
CLASS IV ไม่สามารถทำกิจกรรมต่าง ๆ ได้มีอาการเหนื่อยล้า ใจสั่น
AHA/ACC guidelines
STAGE A ผู้ป่วยมีปัจจัยเสี่ยงสูง ครอบครัวมีประวัติ
STAGE B มีโรคหัวใจที่เกี่ยวกับโครงสร้าง ไม่มีอาการแสดง
STAGE C มีโรคหัวใจที่เกี่ยวกับโครงสร้าง มีอาการแสดง
STAGE D ระยะสุดท้ายไม่ตอบสนองกับการรักษา มีอาการขณะพัก
ชนิดของภาวะหัวใจล้มเหลว
ชนิดหัวใจล้มเหลวในการบีบตัวและหัวใจล้มเหลวในการคลายตัว
systolic heart failure
diastolic heart failure
ชนิดหัวใจล้มเหลวข้างซ้ายและข้างขวา
Left ventricle
Right ventricle failure
ชนิดหัวใจล้มเหลวเฉียบพลันและเรื้อรัง
Acute & Chronic heart failure
พยาธิสรีรวิทยาของภาวะหัวใจวายเกี่ยวข้องกับปัจจัย 3 อย่าง
จำนวนเลือดที่ไหลกลับเข้าสู่หัวใจ (venous return หรือ preload)
แรงต้านการไหลของเลือดขณะหัวใจบีบตัว (vascular resistance หรือ afterload)
ความสามารถในการบีบตัวของหัวใจ (contractility)
อาการของหัวใจห้องล่างซ้ายล้มเหลว
1) หายใจหอบเหนื่อย จากมีการคั่งของเลือดและน้ำที่ปอด
2) นอนราบไม่ได้ (Orthopnea) นอนหลับไปแล้วหลายชั่วโมงแล้วตื่นขึ้นมานั่งหอบเรียกอาการนี้ว่า (Paroxysmal nocturnal dyspnea : PND)
3) การไอ เป็นอาการเด่นชัดที่พบบ่อย เกิดจากการมีเลือดและน้ำคั่งในปอด ฟังเสียงปอดจะมีเสียง Crepitation
4) อ่อนเพลีย (Fatigue) จากการที่เซลล์ของร่างกายได้รับเลือดและออกซิเจนลดลง
5) ความดันโลหิตลดลง จากการที่หัวใจบีบตัวไม่มีประสิทธิภาพ
6) สมองขาดออกซิเจน มีอาการกระสับกระส่าย ความจำเสื่อม เป็นลม
7) อาการเจ็บหน้าอก พบได้ในกรณีที่เลือดไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจไม่เพียงพอ
8) อาการทางระบบไต ปัสสาวะลดลง
9) ผอมและขาดสารอาหาร (Cachexia and malnutrition) จากการที่เลือดไปเลี้ยงร่างกายไม่เพียงพอ
10) ผิวซีด/ เขียว จากการขาดเลือดไปเลี้ยง
Afterload
แรงต้านการไหลของเลือดขณะ หัวใจบีบตัว
สาเหตุและปัจจัยเสี่ยง
2.Abnormal muscle function
เป็นภาวะที่กล้ามเนื้อหัวใจทำหน้าที่ผิดปกติ
cardiomyopathy
3.Limited ventricular filling
เป็นความจำกัดในการคลายตัวรับเลือดของ ventricle
hypertrophic obstructive cardiomyopathy
1.Abnormal loading condition
เป็นภาระที่หัวใจต้องรับภาระหนักอย่างผิดปกติ
pressure load/ volume overload
มีผลจากโรคและภาวะต่างๆ
1.ACS; MI
2.ความดันโลหิตสูง
3.ลิ้นหัวใจผิดปกติ (VHD)
4.Dilated cardiomyopathy (DCM)
5.หัวใจพิการแต่กำเนิด
6.โรคอ้วน เบาหวาน
7.หยุดหายใจขณะหลับ (sleep apnea)
8.ยาที่มีพิษต่อกล้ามเนื้อหัวใจ
9.Right ventricular pacing
10.โลหิตจาง ติดเชื้อ ตั้งครรภ์
11.Specific cardiomyopathy
อาการของหัวใจห้องล่างขวาล้มเหลว
3) ท้องมาน (Ascites)
4) หลอดเลือดดำที่คอโป่ง
2) ตับโต จากการที่มีเลือดคั่งในหลอดเลือดในตับ
5) อาการทางระบบทางเดินอาหาร ผู้ป่วยจะแน่นจุกบริเวณใต้ชายโครงขวาหรือบริเวณลิ้นปี เป็นผลมาจากตับโตจากการมีน้ำคั่ง
1) การบวม (Edema) ตามส่วนต่างๆ เท้า ข้อเท้า ก้นกบ การบวมอาจกดบุ๋ม(Pitting Edema)
การพยาบาล
ลดความต้องการใช้ออกซิจนของร่างกายให้หัวใจทำงานลดลง โดยให้นอนพักบนเตียง
ออกซิเจน
ให้นั่งหรือนอนศีรษะสูง
เพิ่มประสิทธิภาพในการบีบตัวของหัวใจ โดยดูแลผู้ป่วยให้รับยากลุ่มได้จิตาลิส ตามแผนการรักษา และระวังพิษของยา
ดูแลให้ได้รับยาเพิ่มความดันโลหิต ยาขยายหลอดเลือด ตามแผนการรักษาของแพทย์
เฝ้าระวังอาการที่ผิดปกติ โดยวัดสัญญาณชีพ การสังเกตอาการหอบเหนื่อย บวม
ลดการคั่งของน้ำในร่างกาย
7.1 จำกัดน้ำดื่ม บันทึกปริมาณน้ำดื่มและปัสสาวะ
7.2 จำกัดอาหารรสเค็ม
7.3 ดูแลให้ได้รับยาขับปัสสาวะ ให้แนะนำผู้ป่วยรับประทานผลไม้เพิ่ม เพื่อป้องกันโปตัสเซียมในเลือดต่ำจากการขับปัสสาวะบ่อย
ประคับประคองทางด้านจิตใจ ให้กำลังใจ ให้ความมั่นใจ ให้ข้อมูลเกี่ยวกับโรค การรักษาพยาบาล
Preload
จำนวนเลือดที่ไหลกลับเข้าสู่หัวใจ การให้ IV fluid ถือเป็น preload
ภาวะหัวใจล้มเหลว (Heart failure)
เป็นกลุ่มอาการที่เป็นผล มาจากความผิดปกติทางโครงสร้างหรือการทำงานของหัวใจ
นางสาวปทุมพร อิ่มจิตต เลขที่ 44 รหัสนักศึกษา 62111301046