Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 7 สุนทรียภาพของชีวิต - Coggle Diagram
หน่วยที่ 7 สุนทรียภาพของชีวิต
สุนทรียภาพ หมายถึง ความงามทางศิลปะ การรับรู้ทางอารมณ์ ความสวยงาม ความน่ายินดี เกิดจากประสบการณ์ จนกลายเป็นอุปนิสัยและรสนิยม
ประเภทของสุนทรียศาสตร์
แนวคิดตะวันตก
ปรนัยนิยม คือ ความงามของวัตถุ เกิดจากรูปร่าง และการเคลื่อนไหว
อัตนัยนิยม คือ ความงามที่อยู่ในใจ ความคิดในใจ ไม่มองว่าสิ่งนั้นงามไม่งาม
แนวคิดตะวันออก
วัตถุ = สามารถสัมผัสได้
รสนิยม = ความสามารถในการรับรู้ และแยกแยะความไพเราะได้
ความงาม = คุณค่าที่แฝงอยู่ในตัว สัมผัสได้จากวัตถุ
มนุษย์ = ผู้รับ - ส่ง
ความแตกต่างระหว่างสุนทรียภาพและสุนทรียศาสตร์
สุนทรียภาพ คือ ความรู้สึก ความรับรู้ที่มีต่อความงาม เข้าถึงการสัมผัสนั้น
สุนทรียศาสตร์ คือ มุ่งให้ความสำคัญต่อการศึกษาศิลปะแต่ละแขนง
คุณค่าความเป็นมนุษย์
สุนทรียาศาสตร์ Aesthetics คุณค่าทางความงาม ความคิด การสัมผัส
ตรรกศาสตร์ Logics คุณค่าทางการคิดวิจารณญาณที่ดี รู้จักใช้เหตุผล
จริยศาสตร์ Ethics มาตรฐานการกำหนดพฤติกรรมของมนุษย์
ความสำคัญ
มีอิทธิพลต่อความงามและความคิด สามารถสร้างความจรรโลงใจได้ดี เป็นความรู้พื้นฐานของการวิเคราะห์ศิลปะต่าง ๆ
สุนทรียศาสตร์กับความเป็นมนุษย์
มนุษย์กับความคิด ช่างคิด ช่างสงสัยมีสติปัญญานำไปสู่การประพฤติดี
มนุษย์ รู้จักความดี รู้จักแยกแยะ และใช้เหตุผล
การพัฒนาสุนทรียภาพ
สถานศึกษา จัดกิจกรรมขึ้นภายในสถานศึกษา
ชุมชน บริหารจัดการระเบียบเมืองให้สะอาด เรียบร้อย
ครออบครัว ทำกิจกรรมภายในครอบครัวร่วมกัน
รัฐบาล ถือเป็นสิ่งสำคัญในการบริหารนโยบายที่ดี และอุดหนุนจุนเจือทุน
ระดับการรับรู้ของสุนทรียภาพ
ขั้นคุ้นเคย มีความรู้สึกที่มีการแสดงออกตามภายนอกที่ชัดเจนเช่น การหัวเราะชอบใจ ร้องไห้เพราะมีความสุข หรือเศร้า ที่มีผลจากการรับสื่อสุนทรีย์
ขั้นซาบซึ้ง การรู้มีอารมณ์ร่วม แม้เหตุการณ์ที่รับสื่อสุนทรีย์นั้นจบลงไปแล้ว ยังนําเรื่องราวที่เกิดความประทับใจนั้นนํากลับมาเล่า สู่กันฟังและยังมีความรู้สึกทุกครั้งเมื่อนึกถึงหรือกล่าวถึงสื่อสุนทรีย์นั้นๆ ที่ผ่านมาแล้ว
ขั้นรำลึก รับรู้ได้ทันทีเมื่อปะทะกับวัตถุแห่งสุนทรีย์ คือ
มีความความเพลิดเพลินพอใจสุขใจ