Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 4 การศึกษากับการพัฒนาที่ยั่งยืน - Coggle Diagram
บทที่ 4
การศึกษากับการพัฒนาที่ยั่งยืน
การศึกษากับการพัฒนาที่ยั่งยืน
การตัดสินใจของชุมชน
คุณภาพชีวิตของประชาชน
การพัฒนาของประเทศ
สาระสำคัญของการศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
ทักษะ (Skills)
มุมมอง (Perspectives)
ความรู้(Knowledge)
ค่านิยม (Values)
ทศวรรษสหประชาชาติว่าด้วยการศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
2 เพื่อเสริมสร้างคุณภาพการเรียน
เพื่อเปิดโอกาสให้ประเทศต่างๆ มีส่วนร่วมในการปฏิรูปการศึกษา
เพื่อสร้างเครือข่ายการศึกษา
เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานของประเทศต่างๆ ให้บรรลุเป้าหมายของการพัฒนา
ยุทธศาสตร์การพัฒนาคุณภาพการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาคุณภาพการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ (พ.ศ.2551- 2555)
1 การพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
เป้าหมาย : ผู้เรียนได้รับการพัฒนาเต็มตามศักยภาพและเหมาะสมในแต่ละช่วงวัย
2 การพัฒนาคุณภาพครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา
เป้าหมาย : ครู คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษาพอเพียงตามเกณฑ์ และมีคุณภาพที่จะจัดการ
เรียนการสอนได้อย่างมีคุณภาพมาตรฐาน
3 การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา
เป้าหมาย : เพื่อให้มีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือของครู เพื่อเพิ่มคุณภาพ และ
ประสิทธิภาพการสอนและการจัดการศึกษา
4 การจัดระบบการศึกษาที่ส่งผลต่อคุณภาพการศึกษา
เป้าหมาย : พัฒนาระบบการจัดการศึกษาในทุกระดับ/ประเภทการศึกษาให้ประสบความสำเร็จตามวัตถุประสงค์
5 การสร้างความเข้มแข็งของสถานศึกษา
เป้าหมาย : พัฒนาและสร้างความเข้มแข็งของสถานศึกษาและเขตพื้นที่การศึกษา เพื่อพร้อมรับการกระจายอำนาจทั้งด้านการบริหารวิชาการ และบริหารงบประมาณ การบริหารบุคลากร และการบริหารทั่วไป
6 การส่งเสริมการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนของสังคม
เป้าหมาย : ให้มีการแบ่งภาระความรับผิดชอบการจัดการศึกษาระหว่างภาครัฐและ เอกชนให้ชัดเจน
กลยุทธ์การจัดการศึกษาเพื่อเสริมสร้างการพัฒนาที่ยั่งยืน
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับการศึกษา
แนวทางการขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ยุทธศาสตร์ขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษา
การพัฒนาศักยภาพบุคลากรและฝึกอบรม
อุปสรรค และความท้าทายของการศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
1 การเสริมสร้างความตระหนัก
2 การบูรณาการหลักสูตร
3 การปฏิรูปการศึกษา
4 นิยามเกี่ยวกับการพัฒนาที่ยั่งยืน
5 การมีส่วนร่วมของชุมชน
6 การบูรณาการเนื้อหาสาระการเรียนรู
7 บทบาทของหน่วยงานที่รับผิดขอบ
8การพัฒนาศักยภาพของกลุ่มผู้นำการเปลี่ยนแปลง
9 การจัดระบบงบประมาณและปัจจัยสนับสนุน
10 การกำหนดนโยบายส่งเสริมการศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
การศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในบริบทไทย
การปฏิรูปการศึกษาตามแนวพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 มีความสอดคล้องกับแนวคิดการศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน และเปิดโอกาสให้ประเทศไทย ก้าวสู่ความร่วมมือกับองค์การสหประชาชาติในการสานต่อแนวคิดการศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในทางปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรมต่อไป