Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยระบบหัวใจและหลอดเลือด - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ป่วยระบบหัวใจและหลอดเลือด
หัวใจล้มเหลว
หน้าที่ของหัวใจ
สูบฉีดโลหิตเพื่อนำพาออกซิเจนและธาตุอาหารไปยังทุกส่วนของร่างกาย
ขณะที่ร่างกายพักผ่อน หัวใจจะมีอัตราการเต้นประมาณ 60-100 ครั้งต่อนาที
กลุ่มอาการที่เป็นผลมาจากความผิดปกติทางโครงสร้างหรือการทำงานของหัวใจ
สาเหตุและปัจจัยเสี่ยง
Abnormal loading condition
เป็นภาระที่หัวใจต้องรับภาระหนักอย่างผิดปกติ
Abnormal muscle function
เป็นภาวะที่กล้ามเนื้อหัวใจทำหน้าที่ผิดปกติ
Limited ventricular filling
เป็นความจำกัดในการคลายตัวรับเลือดของ ventricle
จากโรคและภาวะต่างๆ
ACS; MI
ความดันโลหิตสูง
ลิ้นหัวใจผิดปกติ (VHD)
Dilated cardiomyopathy (DCM)
หัวใจพิการแต่กำเนิด
โรคอ้วน เบาหวาน
หยุดหายใจขณะหลับ (sleep apnea)
ยาที่มีพิษต่อกล้ามเนื้อหัวใจ
Right ventricular pacing
โลหิตจาง ติดเชื้อ ตั้งครรภ์
Specific cardiomyopathy
ชนิด
systolic heart failure
diastolic heart failure
Left ventricle และ Right ventricle failure
Acute & Chronic heart failure
ระดับความรุนแรงและอาการ
NYHA CLASSIFICATION
Class I: คือสามารถทาการออกแรงได้ตามปกติโดยที่ไม่มีอาการเจ็บหน้าอก angina เช่นการเดิน , การขึ้นบันได จะมีอาการเจ็บหน้าอกเมื่อออกกาลังกายอย่างรุนแรง, รวดเร็ว หรือยาวนาน
Class II: คือมีการจำกัดการออกแรงเล็กน้อย โดยมีอาการเจ็บหน้าอก angina เมื่อเดิน หรือขึ้นบันไดเร็วๆ , เดินขึ้นเขา , เดินหรือขึ้นบันไดหลังมื้ออาหาร หรือในที่อากาศหนาว หรือภายใต้อารมณ์เครียด โดยผู้ป่วยสามารถเดินได้มากกว่า 2 block หรือขึ้นบันได ได้มากกว่า 1 ชั้น
Class III: คือมีการจากัดการออกแรงมาก โดยมีอาการเจ็บหน้าอก angina ขึ้นเมื่อเดินน้อยกว่า 2 block หรือขึ้นบันไดได้ไม่ถึง 1 ชั้น
Class IV: คือ ไม่สามารถออกแรงโดยไม่แสดงอาการเจ็บหน้าอก จนถึงมีอาการเจ็บหน้าอกขณะพัก
พยาธิ
ปริมาณเลือดที่ออกจากหัวใจในแต่ละนาทีหรือ cardiac output (CO) นั้น มีความสัมพันธ์ โดยตรงกับอัตราการเต้นของหัวใจใน 1 นาที(heart rate; HR) และปริมาณเลือดที่ออกจากหัวใจใน แต่ละครั้งของการบีบตัว (stroke volume; SV)
หัวใจห้องล่างซ้ายล้มเหลว
หายใจหอบเหนื่อย จากมีการคั่งของเลือดและน้ำที่ปอด
Paroxysmal nocturnal dyspnea : PND
การไอ เป็นอาการเด่นชัดที่พบบ่อย เกิดจากการมีเลือดและน้ำคั่งในปอด ฟังเสียงปอดจะมีเสียง Crepitation
อ่อนเพลีย (Fatigue) จากการที่เซลล์ของร่างกายได้รับเลือดและออกซิเจนลดลง
ความดันโลหิตลดลง จากการที่หัวใจบีบตัวไม่มีประสิทธิภาพ
สมองขาดออกซิเจน
อาการเจ็บหน้าอก พบได้ในกรณีที่เลือดไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจไม่เพียงพอ
อาการทางระบบไต ปัสสาวะลดลง
หัวใจห้องล่างขวาล้มเหลว
การบวม (Edema) ตามส่วนต่างๆ เท้า ข้อเท้า ก้นกบ การบวมอาจกดบุ๋ม
ตับโต จากการที่มีเลือดคั่งในหลอดเลือดในตับ
ท้องมาน (Ascites)
หลอดเลือดดำที่คอโป่ง
อาการทางระบบทางเดินอาหาร ผู้ป่วยจะแน่นจุกบริเวณใต้ชายโครงขวาหรือบริเวณลิ้นปี่
การรักษา
แก้ไขสาเหตุโดยตรงที่ทำให้เกิดภาวะหัวใจล้มเหลว
ขจัดสาเหตุส่งเสริม เช่น ต่อมไธรอยด์เป็นพิษ โลหิตจาง การติดเชื้อ
ลดการทำงานของหัวใจลง
ลดการคั่งของน้ำและเกลือ
เพิ่มปริมาณเลือดออกจากหัวใจโดย
การพยาบาล
ลดความต้องการใช้ออกซิเจนของร่างกายให้หัวใจทำงานลดลง โดยให้นอนพักบนเตียง
ออกซิเจน
ให้นั่งหรือนอนศีรษะสูง
เพิ่มประสิทธิภาพในการบีบตัวของหัวใจ โดยดูแลผู้ป่วยให้รับยากลุ่มไดจิตาลิสตาม
แผนการรักษา และระวังพิษของยา
ดูแลให้ได้รับยาเพิ่มความดันโลหิต ยาขยายหลอดเลือด ตามแผนการรักษาของแพทย์
Shock
classification of shock
ช็อกจากการเสียเลือดและน้ำ (hypovolemic shock)
สาเหตุ
เสียเลือด
เสียพลาสม่า
เสียน้ำออกจากร่างกาย
fluid leak into the intestinal
third space
อาการ
ความดันโลหิตตก จากการไหลเวียนเลือดที่ลดลง
ชีพจรเร็ว เบา จากการไหลเวียนเลือดที่ลดลง ร่วมกับหัวใจเต้นเร็ว
เหงื่อออก ตัวเย็น จากหลอดเลือดแดงมีการหดตัว (vasoconstriction)
หายใจเร็ว จากการกระตุ้นของระบบประสาท sympathetic และภาวะเลือดเป็นกรด
กระหายน้ำ ปากแห้ง จากภาวะขาดน้ำ
อ่อนเพลีย จากปริมาณออกซิเจนที่ลดลง
ผิวหนังเย็น ม่วง (cyanosis) ลาย (cutis marmorata)
Fatigue due to inadequate oxygenation.
Cardiogenic shock
ช็อกที่เกิดจากความผิดปกติของหัวใจ ทำให้ความสามารถในการบีบตัวของหัวใจลดลงอย่างมาก หัวใจไม่สามารถบีบเลือดไปเลี้ยงส่วนต่างๆ ของร่างกายได้อย่างเพียงพอ
สาเหตุ
การสูญเสียประสิทธิภาพในการบีบตัวของกล้ามเนื้อหัวใจ
การอุดกั้นการไหลของเลือด (obstructive condition)
สาเหตุอื่นๆ ได้แก่ โรคของลิ้นหัวใจที่ทำให้ช่องลิ้นหัวใจมีขนาดเล็กลง
ช็อกจากกระจายของเลือด
(Distributive shock)
neurogenic shock
สาเหตุ
ได้รับยาทางไขสันหลังในระดับสูง (high level)
ภาวะเครียดทางอารมณ์
ปวดอย่างรุนแรง
ได้รับยาเกินขนาด
thoracic spine
ได้รับยานอนหลับ
พยาธิ
การทeงานของส่วนปลายขยายตัว การตอบสนองของ baroreceptor ถูกขัดขวาง และสูญเสียการควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย การขยายตัวทั้งของหลอดเลือดดeและแดงทeให้มีเลือดคั่งค้างอยู่ในหลอดเลือด
Anaphylactic shock
เป็นปฏิกิริยาของร่างกายต่อการแพ้ที่เกิดขึ้นอย่างเฉียบพลันมีสาเหตุจากการได้รับการกระตุ้น (sensitized) สารกระตุ้นทเปรียบเสมือน antigen
อาการแสดงทางคลินิก
ผิวหนังมีผื่นแดงเป็นลมพิษ
หายใจลeบาก เสียงหายใจมี wheezing และมี cyanosis
มีการบวมบริเวณกล่องเสียง
ความดันโลหิตต่ำ
อาจมีอาการอาเจียน ท้องเสีย เป็นตะคริว ปวดท้อง
กลั้นปัสสาวะไม่ได้
Septic shock
สาเหตุ
ได้รับ endotoxin ของเชื้อ ทำให้มีหลอดเลือดขยาย (vasodilatation) ทำให้ความดันโลหิตลดลง
คำสำคัญที่เกี่ยวข้อง
Bacteremia คือ การตรวจพบเชื้อแบคทีเรียในกระแสเลือด โดยไม่มีอาการแสดง
SIRS คือ กลุ่มอาการแสดงของการตอบสนองทาง systemic ต่อการติดเชื้อ มักพบในตับอ่อนอักเสบ
Sepsis คือ การมีอาการหรือร่องรอยของการติดเชื้อ
Septic Shock คือ ภาวะ sepsis ร่วมกับมีความดันโลหิตต่ำทั้งที่ได้รับสารน้ำชดเชยอย่างเพียงพอ
MODS คือ ระบบต่างๆ ท างานล้มเหลวมากกว่า 1 ระบบ
การพยาบาล
ให้O2 (Oxygen Administration)
การช่วยระบายอากาศ (Ventilation)
การจัดท่า (Positioning)
Fluid resuscitation
โรคหลอดเลือดหัวใจเฉียบพลัน (ACS)
หน้าที่ของหลอดเลือดหัวใจ
นำเลือดไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจ
ปัจจัยเสี่ยง
มีคนในครอบครัวเป็น เพศ อายุ
อาการและอาการแสดง
อาการเจ็บหน้าอกจากกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดไปเลี้ยง
เจ็บหน้าอกจากหลอดเลือดหัวใจตีบ
(เลือดไปเลี้ยงไม่พอ / low flow/ Ischemia)
เจ็บหน้าอกจากกล้ามเนื้อหัวใจตาย
(Injury/Infarction)
การตรวจวินิจฉัย
การสอบถามซักประวัติ
การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ (Electrocariogram : ECG,EKG)
การตรวจร่างกาย เช่น การจับชีพจร การฟังเสียงการเต้นของหัวใจ
การถ่ายภาพรังสีทรวงอก (CXR)
การตรวจคลื่นเสียงสะท้อนหัวใจ (Echocardiography)
การเดินสายพาน (Exercise Stress Test : EST)
การตรวจสวนหัวใจ หรือการฉีดสี (Coronary Angiogram : CAG)
วิธีการรักษา
การรักษาด้วยยาละลายลิ่มเลือด (Anti-Thrombolytic)
การรักษาด้วยวิธีการทำบอลลูน ถ่างขยายหลอดเลือดและใส่ขดลวด
((Percutaneous Coronary Intervention : PCI with Stent)
การรักษาด้วยวิธีการผ่าตัด (Coronary Artery Bypass Graft: CABG)
การรักษาด้วยยา Streptokinase
การรักษาด้วยวิธีการทำบอลลูน ถ่างขยายหลอดเลือดและใส่ขดลวด
(Percutaneous Coronary Intervention : PCI with Stent)
การฉีดสีและสวนหัวใจ
คำแนะนำ
หลีกเลี่ยงและ ผ่อนคลายความเครียด
ไม่ควรให้เกิดอาการท้องผูก หรือต้องออกแรงในการเบ่งถ่ายมาก รับประทานยาระบายตามแผนการรักษา
ควรพบแพทย์ตามกำหนดนัดทุกครั้ง
หากมีอาการผิดปกติให้มาพบแพทย์ก่อนกำหนดได้