Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยระบบหัวใจและหลอดเลือดดํา - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ป่วยระบบหัวใจและหลอดเลือดดํา
ภาวะหัวใจล้มเหลว (heart failure)
กลุ่มอาการที่เป็นผลมาจากความผิดปกติทางโครงสร้างหรือการทํางานของหัวใจทําให้มีผลต่อhemodynamic
สาเหตุและปัจจัยเสี่ยง
1.Abnormal loading condition
เป็นภาวะที หัวใจต้องรับภาวะหนักอย่างผิดปกติ
pressure load/ volume overload
2.Abnormal muscle function
เป็นภาวะทีกล้ามเนื้อหัวใจทําหน้าที ผิดปกติ
cardiomyopathy
3.Limited ventricular filling
เป้นความจํากัดในการคลายตัวรับเลือดของ ventricle
hypertrophic obstructivecardiomyopathy
ปัจจัยที มีผลจากโรคและภาวะต่างๆ
.ACS; MI
ความดันโลหิตสูง
ลิ้นหัวใจผิดปกติ (VHD)
.Dilated cardiomyopathy (DCM)
หัวใจพิการแต่กําเนิด
โรคอ้วนเบาหวาน
หยุดหายใจขณะหลับ (sleep apnea)
ยาที มีพิษต่อกล้ามเนื้อหัวใจ
Right ventricular pacing
โลหิตจางติดเชื้อต้ังครรภ์
Specific cardiomyopathy
alcohol cardiomyopathy
atrial fibrillation inducedcardiomyopathy
diabetes cardiomyopathy (ischemia)
ชนิดของภาวะหัวใจล้มเหลว
ชนิดหัวใจล้มเหลวในการบีบตัวและคลายตัว
systolic heart failure
diastolic heart failure
ชนิดหัวใจล้มเหลวข้างซ้ายข้างขวา
Left ventricle failure
Right ventricle failure
ชนิดหัวใจล้มเหลวเฉียบพลันและเรื้อรัง
Acute & Chronic heart failure
การจําแนกระดับความรุนแรงและอาการ
NYHA CLASSIFICATION
CLASS I
ทํากิจกรรมได้ไม่เกิดอาการเหนื่อย/เจ็บหน้าอก
CLASS II
มีความจํากัดในกิจกรรมเหนื่อยแต่พักแล้วหาย
CLASS III
มีขีดจํากัดในการทํากิจกรรมชัดเจนรู้สึกสบายขณะพัก
CLASS IV
ไม่สามารถทํากิจกรรมได้มีอาการเหนื่อยล้าใจสั่น
AHA/ACC guidelines
STAGE A
STAGE B
STAGE C
STAGE D
ไม่ตอบสนองต่อการรักษามีอาการขณะพัก
มีโรคหัวใจทีเกี่ยวกับโครงสร้างมีอาการ
มีโรคหัวใจที่เกี่ยวกับโครงสร้างแต่ไม่มีอาการ
Pt.มีปัจจัยเสียงสูง & fml history
อาการของหัวใจห้องล่างซ้ายล้มเหลว
หายใจหอบเหนื่อย
จากมีการคั่งของเลือดและน้ำที่ปอด
นอนราบไม่ได้และนอนหลับไปแล้วหลายชั่วโมงแล้วตื่นขึ้นมานั่งหอบ
การไอเป้นอาการเด่นชัดที่พบบ่อย
เกิดจากการมีเลือดและน้ำคั่งในปอด
ฟังเสียงปอดจะมีเสียง Crepitation
อ่อนเพลีย (Fatigue)
จากการที่เซลล์ของร่างกายได้รับเลือดและออกซิเจนลดลง
ความดันโลหิตลดลง
จากการที่หัวใจบีบตัวไม่มีประสิทธิภาพ
สมองขาดออกซิเจน
ผิวซีด/ เขียวจากการขาดเลือดไปเลี้ยง
อาการของหัวใจห้องล่างขวาล้มเหลว
การบวม (Edema)ตามส่วนต่างๆอาจกดบุ๋ม
ตับโต
จากการที่มีเลือดคั่งในหลอดเลือดในตับ
ท้องมาน (Ascites)
หลอดเลือดดําที คอโป9ง
การวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย, CxRเพื อดูขนาดของหัวใจหัวใจจะโตจากกลไกการปรับตัวและการมีน้ำคั่งในปอด
การตรวจทางห้องปฏิบัติการเพื อแยกโรคโดยตรวจหา Serum BNP
ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจเพื่อหาภาวะแทรกซ้อนจากภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ
Echocardiography
การรักษา
แก้ไขสาเหตุโดยตรงที ทำให้เกิดภาวะหัวใจล้มเหลวโดยการผ่าตัด
ขจัดสาเหตุส่งเสริม
ต่อมไธรอยด์เป็นพิษโลหิตจางการติดเชื้อ
ลดการทํางานของหัวใจลง
จํากัดกิจกรรมต่าง
ลด Preload หรือลดจํานวนเลือดที ไหลกลับเข้าสู่หัวใจ
ลดการคั่งของน้ำและเกลือ
เพิมปริมาณเลือดออกจากหัวใจ
การพยาบาล
ลดความต้องการใช้ออกซิเจนของร่างกายให้หัวใจทํางานลดลง
ให้นั่งหรือนอนศีรษะสูง
เฝ้าระวังอาการที่ผิดปกติ
ออกซิเจน
ลดการคั่งของน้ำในร่างกาย
ประคับประคองทางด้านจิตใจ
ให้ความรู้ในการปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันการเกิดอาการซ้ำๆ
SHOCK
กลุ่มอาการที่เกิดจากการมีการลดลงของการไหลเวียนโลหิตสู่อวัยวะและเนื้อเยื่อส่วนปลาย
ชนิด
ช็อกจากการเสียเลือดและน้ำา(hypovolemic shock)
ช็อกเกี่ยวกับหัวใจ (cardiogenic shock)
ช็อกจากการกระจายของเลือด
ช็อกจากระบบประสาท (nerogenic shock)
ช็อกจากภูมิแพ้ (anaphylactic shock)
ช็อกจากภาวะติดเชื้อ (septic shock)
hypovolemic shock
สาเหตุ
เสียเลือดเสียพลาสม่าเสียน้ำ
อาการ
ความดันโลหิตตกจากการไหลเวียนเลือดที ลดลง
ชีพจรเร็วเบาจากการไหลเวียนเลือดที ลดลงร่วมกับหัวใจเต้นเร็ว
เหงื่อออกตัวเย็นจากหลอดเลือดแดงมีการหดตัว(vasoconstriction)
หายใจเร็วจากการกระตุ้นของระบบประสาทsympathetic และภาวะเลือดเป็นกรด
กระหายน้ำปากแห้งจากภาวะขาดน้ำ
cyanosis,cutis marmorata
การรักษา
ให้สารน้ำและ electrolyte ชดเชยตามชนิดที่เสียไป
ควรให้เลือดทดแทน
Cardiogenic shock
สาเหตุ
การสูญเสียประสิทธิภาพในการบีบตัวของกล้ามเนื้อหัวใจ
myocardial infarction
myocarditis
cardiomyopathy
การอุดกั้นการไหลของเลือด
tension pneumothorax
Distributive shock
neurogenic shock
สาเหตุ
ภาวะเครียดทางอารมณ์
ปวดอย่างรุนแรง
การบาดเจ็บของไขสันหลังส่วนบนถัดจากส่วนอก
ได้รับยาเกินขนาด
hypoglycemia
ได้รับยาทางไขสันหลังในระดับสูง
anaphylactic shock
สาเหตุ
เป็นปฏิกิริยาของร่างกายต่อการแพ้ที เกิดขึ้นอย่างเฉียบพลันรุนแรง
ยา
อาหาร
แมลง
อาการ
ผิวหนังมีผืนแดงเป็นลมพิษ
หายใจลําบากเสียงหายใจมี wheezing และมี cyanosis
หายใจมีเสียง stridor
ความดันโลหิตต่ำ
อาจมีอาการอาเจียนท้องเสียตะคริว
กลั้นปัสสาวะไม่ได้มีเลือดออกทางช่องคลอด
septic shock
สาเหตุ
ได้รับ endotoxin ของเชื้อทําให้มีหลอดเลือดขยาย(vasodilatation) ทําให้ความดันโลหิตลดลง
การพยาบาล
การให้O2 (Oxygen Administration)
โดยให้non-rebreather mask 12-15 ลิตร/นาที
การช่วยระบายอากาศ (Ventilation)
ให้Hyperventilate ด้วย Ambubag ในอัตรา 20 ครั'ง/นาที
การควบคุมภาวะเลือดออก (Hemorrhage Control)
ให้กดบริเวณบาดแผลที่มีเลือดออก
การจัดท่า (Positioning)
นอนยกปลายเท้าสูง
การใช้ยา
กลุ่มยาที ทําให้หลอดเลือดหดตัว(Vasoconstricting drugs)
กลุ่มยาช่วยเพิมการบีบตัวของหัวใจ(Enhancing myocardial contraction)
กลุ่มยาเพิมการไหลเวียนเลือดสู่กล้ามเนื้อหัวใจ(Enhancing myocardial perfusion
การเฝ้าระวังและตรวจประเมิน
การประเมินผู้ปู้วยในภาวะช็อก
การซักประวัติ
ข้อมูลทางคลินิก
การตรวจ LAB
โรคหลอดเลือดหัวใจเฉียบพลัน (ACS)
ปัจจัยเสี่ยง
ระดับไขมันในเลือดสูง
การสูบบุหรี
ความดันโลหิตสูง
เบาหวาน
โรคอ้วน
Metabolic Syndrome
ไม่ออกกําลังกาย
อาการและอาการแสดง
เจ็บหน้าอกจากกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดไปเลี้ยง
เจ็บขณะพักนาน 20 นาที
เหงื่อออกเวียนศีรษะคลื้้นไส้อาเจียน
การตรวจวินิจฉัย
การสอบถามซักประวัติ
การตรวจร่างกาย
การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การถ่ายภาพรังสีทรวงอก
การตรวจคลื่นเสียงสะท้อนหัวใจ
การเดินสายพาน
การตรวจสวนหัวใจหรือการฉีดสี
การรักษาภาวะกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน
การรักษาด้วยยาละลายลิ้มเลือด (Anti-Thrombolytic)
การรักษาด้วยวิธีการทําบอลลูนถ่างขยายหลอดเลือดและใส่ขดลวด (PCI
เป็นกระบวนการที่ทําให้เห็นภาพของหลอดเลือดหัวใจ
คําแนะนําหลังทํา PCI
1.หลังสวนหัวใจแล้ว 24 ชั่วโมงผู้ป่วยสามารถอาบน้ำและถูสบู่ได้แต่ควรปฏิบัติอย่างนุ่มนวล
2.หลีกเลี่ยงการแช่ตัวในอ่างอาบน้ำห้ามทาแป้งหรือโลชั่นบริเวณแผล 1สัปดาห์หลังการสวนหัวใจ
3.กรณีทําผ่าตัดทีข้อมือหลีกเลี่ยงการบิดงอข้อมือและการเกร็งหรือใช้ข้อมือนานๆห้ามใช้แขนข้างที ทําหัตถการสวนหัวใจยกสิงของที มีน้ำหนักมากกว่า5ปอนด์หรือ 2.27 กิโลกรัมเป็นระยะเวลา 5 วัน
4.ควรงดขับรถ 3-7 วัน
รับประทานยาต้านเกร็ดเลือดต่อเนื่องตามทีแพทย์สั ง
การรักษาด้วยวิธีการผ่าตัด
การรักษาเบื้องต้นโดย MONA
M = Morphine
O = O2 therapy
N = Nitrate
A = ASA
คําแนะนํา
หลีกเลี่ยง/ งดบุหรี
รับประทานอาหารที มีไขมันต่ำ
หลีกเลี่ยงเครืองดื่มประเภทชากาแฟน้ำอัดลมและเครืองดื่มประเภทมึนเมา
ออกกําลังกายอย่างสม่ำเสมอ
ควรรับประทานยาตามแผนการรักษาให้ครบถ้วน
ไม่ควรให้เกิดอาการท้องผูก
หลีกเลี่ยงและผ่อนคลายความเครียด
ควรพบแพทย์ตามกําหนดนัดทุกครั้งถ้ามีอาการผิดปกติมาพบก่อนนัดได้
การใช้ยาอมใต้ลิ้น
ควรพกยาไว้ในกระเป๋าและหยิบใช้ได้ทันที
ให้อมยาใต้ลิ้น 1 เม็ดถ้ามีอาการเจ็บแน่นหน้าอก
ถ้าอาการไม่ทุเลาให้อมยาซ้ำอีก 2 ครั้งครั้งละ 1 เม็ดแต่ละครั้งห่างกัน 5 นาที
หากอมยาครบ 3 เม็ดยังไม่หายให้รีบไปพบแพทย์