Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
วิวัฒนาการนาฏศิลป์ไทย - Coggle Diagram
วิวัฒนาการนาฏศิลป์ไทย
สมัยสุโขทัย
หลักฐาน
ศิลาจารึกพ่อขุนรามคำแหง
มีเขียนเกี่ยวกับเรื่องการประโคม
การละเล่นแบบพื้นเมือง
หนังสือไตรภูมิพระร่วงฉบับพระมหาราชาลิไท
"บ้างเต้น บ้างรำ บ้างฟ้อน ระบำบรรลือ"
ได้รับวัฒนธรรมจากอินเดีย
ระบำ รำ เต้น
สมัยอยุธยา
ต้นกำเนิดละครรำ
โนรา
ชาตรี
ต้นกำเนิดของละครทุกชนิด
ละครรำ
ละครชาตรีแบบเดิม
ละครนอกปรับปรุงจากละครชาตรี
ละครใน (ใช้ผู้หญิงแสดงทั้งหมด)
ดาหลัง
อุณรุฑ
อิเหนา
รามเกียรติ์
บทละคร
โคบุตร
ไกรทอง
มณีพิชัย
สมัยธนบุรี
บทพระราชนิพนธ์
ละครในเรื่องรามเกียรติ์
หนุมานเกี้ยวนางวานรินทร์
ท้าวมาลีวราชว่าความ
ทศกัณฑ์ตั้งพิธีทรายกลด (เผารูปเทวดา)
พระลักษณ์ถูกหอกกบิลพัท
ปล่อยม้าอุปการ
คณะละคร
ละครหลวงพิพิธวาที
ละครหลวงวิชิตนรงค์
ละครไทยหมื่นเสนาภูบาลหมื่นโวหานภิรมย์
สมัยรัตนโกสินทร์
รัชกาลที่ 1
รวบรวมตำราระบำรำฟ้อน
บทพระราชนิพนธ์
กลอนนิราศรบพม่าที่ท่าดินแดง
การแสดงนาฏศิลป์
ระบำเมขลา รามสูร (รามเกียรติ์)
ชุดรำโคม (จากการเล่นโคมญวน)
เกิดบทประพันธ์
อุณรุฑ
รามเกียรติ์
ดาหลัง
อิเหนา
รัชกาลที่ 2
ยุคทองของวรรณดีและนาฏศิลป์ไทย
อิเหนา
ยอดของละครรำ
ตัวละครงาม
รำงาม
ร้องเพราะ
ดนตรีเพราะ
กลอนเพราะ
ละครนอก
ไกรทอง
ไชยเชษฐ์
สังข์ทอง
รัชกาลที่ 3
ยกเลิกละครหลวง
รัชกาลที่ 4
เกิดภาษีโขนละคร
บทพระราชนิพนธ์
บทเบิกโรง
รำฉุยฉายกิ่งไม้เงินทอง
นารายณ์ปราบนนทก
ข้อห้าม
ห้ามบังคับผู้อื่นฝึกละคร
ห้ามรัดเกล้ายอด
ห้ามใช้พานทองหีบทอง
ห้ามเป่าแตรสังข์
รัชกาลที่ 5
ยกเลิกภาษีโขน-ละคร
กำเนิดระบำแทรก
ระบำไก่ แทรกในเรื่อง พระลอ
ระบำนางกอย แทรกในเรื่อง เงาะป่า
ระบำบุษบาชมศาล แทรกในเรื่อง อิเหนา
คณะละคร
คณะละครของพระองค์เจ้าสิงหนาทราชดุรงค์ฤทธิ์
ละครดึกดำบรรพ์
คณะละครของเจ้าพระยามหินทรศักดธำรง (เพ็ง เพ็ญกุล)
โรงละคร “ปริ้นส์เธียร์เตอร์
ละครพันทาง
รัชกาลที่ 6
นาฏศิลป์มีความเจริญรุ่งเรืองเป็นอย่างมาก
แต่งตั้งกรมมหรสพขึ้น
มีโรงเรียนฝึกหัดนาฏศิลป์ในกรมมหรสพ
โขน
โขนหลวง (โขนบรรดาศักดิ์)
โขนเอกชน (โขนเชลยศศักดิ์)
บทพระราชนิพนธ์
ละครนอก
พระร่วง
ศุกนตลา
ท้าวแสนปม
รัชกาลที่ 7
จัดตั้งกรมศิลปากรแทนกรมมหรสพ
ละครเพลง
ละครหลวงวิจิตรวาทการ
พระราชธิดาพระร่วง
เลือดสุพรรณ
อานุภาพพ่อขุนรามคำแหง
ละครจันทโรภาส
นายจวงจันทร์ จันทรคณา (พรานบูรณ์)
เรื่องจันทร์เจ้าขา
รัชกาลที่ 8
มีการจัดตั้งโรงเรียนนาฏศิลป์
กรมศิลปากร
เกิดรำวงมาตรฐาน
ละครหลวงวิจิตรวาทการ
ปลุกใจให้รักชาติ
หลวงวิจิตรวาทการ
อธิบดีคนแรกของกรมศิลปากร
รัชกาลที่ 9
จัดพิธีไหว้ครู นาฏศิลป์ไทย
อัครศิลปิน
เพลงพระราชนิพนธ์
48 เพลง
ระบำ
ระบำมิตรไมตรี ญี่ปุ่น-ไทย
ระบำจีนไทยไมตรี