Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ใหญ่ระบบหัวใจและหลอดเลือด, นางสาวอารยา ชูระเชตุ เลขที่ 107…
การพยาบาลผู้ใหญ่ระบบหัวใจและหลอดเลือด
ภาวะหัวใจล้มเหลว Congestive heart failure (CHF)
เป็นกลุ่มอาการที่เป็นผล มาจากความผิดปกติทางโครงสร้างหรือการทำงานของหัวใจ ทำให้มีผลต่อ hemodynamicหรือหัวใจไม่สามารถสูบฉีดเลือดได้อย่างเพียงพอกับความต้องการ ของร่างกาย
สาเหตุและปัจจัยเสี่ยง
ACS : MI
BP สูง
ลิ้นหัวใจผิดปกติ VHD
Dilated cardiomyopathy : DCM
หัวใจพิการแต่กำเนิด
โรคอ้วน เบาหวาน
Sleep apnea
สรุปอาการของหัวใจห้องล่างซ้ายล้มเหลว
หายใจหอบเหนื่อยจากมีการคั่งของเลือดและน้ำที่ปอด
นอนราบไม่ได้ (Orthopnea) และนอนหลับไปแล้วหลายชั่วโมงแล้วตื่นขึ้นมานั่งหอบเราเรียกอาการนี้ว่า (Paroxysrmal nocturnal dyspnea: PND)
การไอเป็นอาการเด่นชัดที่พบบ่อยเกิดจากการมีเลือดและน้ำคั่งในปอดฟังเสียงปอดจะมีเสียง Crepituation
อ่อนเพลีย (Fatigue) จากการที่เซลล์ของร่างกายได้รับเลือดและออกซิเจนลดลง
ความดันโลหิตลดลงจากการที่หัวใจบีบตัวไม่มีประสิทธิภาพ
สมองขาดออกซิเจนมีอาการกระสับกระส่ายความจำเสื่อมเป็นลม
อาการเจ็บหน้าอกพบได้ในกรณีที่เลือดไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจไม่เพียงพอ อาการทางระบบไตปัสสาวะลดลง
อาการทางระบบไตปัสสาวะลดลง
ผอมและขาดสารอาหาร (Cachexia and malnutrition) จากการที่เลือดไปเลี้ยงร่างกายไม่เพียงพอ
ผิวซีด / เขียวจากการขาดเลือดไปเลี้ยง
สรุปอาการของหัวใจห้องล่างขวาล้มเหลว
การบวม (Edemia) ตามส่วนต่างๆเท้าข้อเท้าก้นกบการบวมอาจกดปุ่ม (Pitting Edema)
ตับโตจากการที่มีเลือดคั่งในหลอดเลือดในตับ
ท้องมาน (Ascites)
หลอดเลือดดำที่คอโป่งอาการทางระบบทางเดินอาหารผู้ป่วยจะแน่นจุกบริเวณใต้ชายโครงขวาหรือบริเวณลิ้นปีเป็นผลมาจากตับโตจากการมีน้ำคั่ง
การพยาบาล
ลดความต้องการใช้ออกซิเจนของร่างกายให้หัวใจทำงานลดลงโดยให้นอนพักบนเตียง
ออกซิเจน
ให้นั่งหรือนอนศีรษะสูง
เพิ่มประสิทธิภาพในการบีบตัวของหัวใจโดยดูแลผู้ป่วยให้รับยากลุ่มไดจิตาลิสตามแผนการรักษาและระวังพิษของยา
ดูแลให้ได้รับยาเพิ่มความดันโลหิตยาขยายหลอดเลือดตามแผนการรักษาของแพทย์
เฝ้าระวังอาการที่ผิดปกติโดยวัดสัญญาณชีพการสังเกตอาการหอบเหนื่อยบวมตามร่างกายว่าเพิ่มขึ้นหรือลดลงไม่ควรลดบวมด้วยการยกขาสูงการชั่งน้ำหนักทุกวัน
ลดการคั่งของน้ำในร่างกาย
จำกัด น้ำดื่มบันทึกปริมาณน้ำดื่มและปัสสาวะ
จำกัด อาหารรสเค็ม
ดูแลให้ได้รับยาขับปัสสาวะให้แนะนำผู้ป่วยรับประทานผลไม้เพิ่มเพื่อป้องกันโปตัสเซียมในเลือดต่ำจากการขับปัสสาวะบ่อย
ประคับประคองทางด้านจิตใจให้กำลังใจให้ความมั่นใจให้ข้อมูลเกี่ยวกับโรคการรักษาพยาบาล
ให้ความรู้ในการปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันการเกิดอาการซ้ำ ๆ และต้องมาโรงพยาบาลบ่อยขึ้น
การพยาบาลผู้ป่วย Shock
Hypovolemic shock
ช็อกจาการเสียเลือกและน้ำ
สาเหตุของการช็อกจากากรเสียเลือดและน้ำ
ภายนอก
เสียเลือด
เสียพลาสมา
เสียน้ำออกจากร่างกาย
ภายใน
เสียเลือดภายใน
เสียน้ำเข้าไปในลำไส้
เสียน้ำเข้าไปส่วนที่3ของร่างกาย
อาการ
ความดันโลหิตตก จาการที่การไหลเวียนลดลง
ชีพจรเบาเร็ว ร่วมกับหัวใจเต้นเร็ว
เหงื่ออก ตัวเย็น จากหลอดเลือดแดงมีการหดตัว
หายใจเร็ว จาการกระตุ้นของระบบประสาท sympathetic และภาวะเลือดเป็นกรด
กระหายน้ำปากแห้งจากภาวะขาดน้ำ
อ่อนเพลียจากปริมาณออกซิเจนที่ลดลง
ผิวหนังเย็นม่วง (cyanosis) ลาย (cutis marmorata) โดยเฉพาะบริเวณส่วนปลายจากการกำซาบออกซิเจนไม่เพียงพอ
Fatigue due to inadequate oxygenation.
การพยาบาล
ให้สารน้ำและ electrolyte ชดเชยตามชนิดที่เสียไปในรายที่เสียเลือดมากกวา 20% ของ blood volume
ควรให้เลือดทดแทน แต่ระหว่างรอเลือดควรให้สารน้ำชนิดอื่นไปก่อนเช่น normal
saline ปริมาณและอัตราการให้สารน้ำขึ้นอยู่กับความรุนแรงของ shock
ควรให้จนกว่า vital signs และ urine output จะปกติ
Anaphylaxis shock
สาเหตุ
ช็อกจากการแพ้ anaphylacts shock) เป็นปฏิกิริยาของร่างกายต่อการแพ้ที่เกิดขึ้นอย่างเฉียบพลันมีสาเหตุจากการได้รับการกระตุ้น (sensitized) สารกระตุ้นที่เปรียบเสมือน antigen เช่น penicillins และ cephalosports อาหารบางประเภทเช่นอาหารทะเลไข่การถูกพิษแมลงทัตต่อยเช่นผึ้งต่อมดคันไฟการได้รับสารทึบแสง (contrast mods) เพื่อการตรวจวินิจฉัยทางรังสีวิทยาและยาต้านการอับเสบที่ไม่ใช่สเตียรอยด์ (NSAID)
อาการแสดงทางคลินิกของ anaphylactic shock
ผิวหนังมีผื่นแดงเป็นลมพิษ
หายใจลำบากเสียงหายใจมี wheezing และมี cyanosis มีการบวมบริเวณกล่อง
เสียงทำให้เสียงแหบและหายใจมีเสียง stridor
ความดันโลหิตต่ำกระสับกระส่ายร่วมกับหัวใจเต้นเร็วและหายใจเร็วขึ้น
อาจมีอาการอาเจียนท้องเสียเป็นตะคริวปวดท้อง
กลั้นปัสสาวะไม่ได้และมีเลือดออกทางช่องคลอดซึ่งเป็นผลจากการหดรัดตัวของ
กล้ามเนื้อของระบบทางเดินอาหารระบบทางเดินปัสสาวะและอวัยวะสืบพันธุ์
Septic shock
สาเหตุ
ได้รับ endotoxin ของเชื้อ ได้แก่ แบคทีเรียเชื้อราไวรัสและโพรโทซัวทำให้มีหลอดเลือดขยาย (vasodilatation) ทำให้ความดันโลหิตลดลง
SIRS CRITERIA
อุณหภูมิ 38 ซ. หรือ <36 ซ. หนาวสั่น
อัตราการเต้นของหัวใจ 290 ครั้ง / นาที
อัตราการหายใจ> 20 ครั้ง / นาทีหรือ Paco, <32
WBC> 12,000 เซลล์ / ลบ.มม. หรือ 4,000 เซลล์ / ลบ.มม. na> 10% immature band forms
แบ่งเป็น
• Sepsis คือการมีอาการหรือร่องรอยของการติดเชื้อ (clinical evidence of infection) ร่วมกับอาการตอบสนองทาง systemic ต่อการติดเชื้อ (มีภาวะ SIRS ร่วมกับ infection))
• Septic Shock คือภาวะ sepsis ร่วมกับมีความดันโลหิตต่ำทั้งที่ได้รับสารน้ำชดเชยอย่างเพียงพอและมีอาการแสดงของ tissue perfusion ไม่เพียงพอ
• Multiple organ dysfunction syndrome (MODS) คือกลุ่มอาการที่มีความดันโลหิตต่ำการกำซาบเนื้อเยื่อต่ำก่อให้เกิดพยาธิสภาพของการติดเชื้อในกระแสเลือดอย่างรุนแรงทำให้อวัยวะหรือระบบต่างๆทำงานล้มเหลวมากกว่า 1 ระบบ
ภาวะหัวใจหยุดเต้น (Caidiacarrest)
ขั้นตอน CPR
รีบเรียทีมมาช่วย
ทำการนวดหน้าอก
ให้ยา adrenaline ตามแผนการรักษา
หาสาเหตุของัวใจหยุดเต้น
อาการที่พบบ่อยที่สุด
ใจสั่น (หัวใจเต้นผิดปกติ)
หายใจลำบาก (หายใจถี่)
เต้นผิดปกติ (หัวใจเต้นผิดปกติ)
อาการเจ็บหน้าอก
อาการของตอนที่หัวใจหยุดเต้นซึ่งต้องการพยาบาลและแพทย์ในทันที อาจรวมถึง: หมดสติ ล้มลงอย่างกะทันหันโดยมีการเตือนเพียงเล็กน้อยหรือไม่มีเลย หยุดหายใจ สูญเสียชีพจร
หลักสูตรของภาวะหัวใจหยุดเต้น
• สาเหตุการรักษาภาวะหัวใจหยุดเต้น-
5H's
Hypoxia ภาวะขาดออกซิเจน
Hypothermia อุณหภูมิกายต่ำ
H+ less(acidosis) H+ น้อยกว่า (ความเป็นกรด)
Hyperkalemia ภาวะโพแทสเซียมสูง
Hypovolemia
5T's
Thrombosis(coronary) ลิ่มเลือดอุดตัน(หลอดเลือดหัวใจ)
Cardiac tamponade ภาวะหัวใจบีบรัด
Tension pneumothorax
Thrombosis(pulmonary) ลิ่มเลือดอุดตัน(ปอด)
นางสาวอารยา ชูระเชตุ เลขที่ 107 รหัส 62111301110