Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ใหญ่ระบบหัวใจและหลอดเลือด - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ใหญ่ระบบหัวใจและหลอดเลือด
ภาวะหัวใจล้มเหลว (Congestive heart failure)
เป็นกลุ่มอาการที่เป็นผลมาจากความผิดปกติทางโครงสร้างหรือการทางานของหัวใจ
ทำให้มีผลต่อ hemodynamic หรือหัวใจไม่สามารถสูบฉีดเลือดได้อย่างเพียงพอกับความต้องการของร่างกาย
สาเหตุและปัจจัยเสี่ยง
Abnormal loading condition
เป็นภาระที่หัวใจต้องรับภาระหนักอย่างผิดปกติ
pressure load/ volume overload
Abnormal muscle function
เป็นภาวะที่กล้ามเนื้อหัวใจทำหน้าที่ผิดปกติ
cardiomyopathy
Limited ventricular filling
เป็นความจำกัดในการคลายตัวรับเลือดของ ventricle
hypertrophic obstructive cardiomyopathy
สาเหตุและปัจจัยที่มีผลจากโรคและภาวะต่างๆ
ACS; MI
ความดันโลหิตสูง
ลิ้นหัวใจผิดปกติ (VHD)
หัวใจพิการแต่กำเนิด
โรคอ้วน เบาหวาน
หยุดหายใจขณะหลับ (sleep apnea)
ชนิดของภาวะหัวใจล้มเหลว
ชนิดหัวใจล้มเหลวในการบีบตัว และหัวใจล้มเหลวในการคลายตัว
systolic heart failure
diastolic heart failure
ชนิดหัวใจล้มเหลวข้างซ้ายและข้างขวา
Left ventricle และ Right ventricle failure
ชนิดหัวใจล้มเหลวเฉียบพลันและเรื้อรัง
Acute & Chronic heart failure
พยาธิสรีรวิทยาของภาวะหัวใจวาย
ปริมาณเลือดที่ออกจากหัวใจในแต่ละนาทีหรือ cardiac output (CO) นั้น มีความสัมพันธ์ โดยตรงกับอัตราการเต้นของหัวใจใน 1 นาที (heart rate; HR) และปริมาณเลือดที่ออกจากหัวใจใน แต่ละครั้งของการบีบตัว (stroke volume; SV)
อัตราการเต้นของหัวใจถูกควบคุมโดยระบบประสาทอัตโนมัติและ stroke volume จะเกี่ยวข้องกับปัจจัย
คือ
จำนวนเลือดที่ไหลกลับเข้าสู่หัวใจ (venous return หรือ preload)
แรงต้านการไหลของเลือดขณะหัวใจบีบตัว (vascular resistance หรือ afterload)
ความสามารถในการบีบตัวของหัวใจ (contractility)
พยาธิสรีรภาพและอาการแสดงหัวใจวายข้างซ้าย
พยาธิสรีรภาพ
เมื่อหัวใจห้องล่างซ้ายบีบตัวลดลง จะทาให้มีเลือดคั่งในหัวใจห้องล่างซ้าย เลือดที่อยู่ในหัวใจห้องบนซ้ายไม่สามารถลงสู่ห้องล่างซ้ายได้
เป็นผลให้เลือดที่ปอดไม่สามารถเข้าสู่หัวใจห้องบนขวาได้ เกิดภาวะเลือดคั่งในหลอดเลือด Pulmonary vein
ทำให้แรงดันในหลอดเลือด pulmonary สูงขึ้น
อาการ
หายใจหอบเหนื่อย จากมีการคั่งของเลือดและน้าที่ปอด
นอนราบไม่ได้ (Orthopnea) และนอนหลับไปแล้วหลายชั่วโมงแล้วตื่นขึ้นมานั่งหอบ
การไอ เกิดจากการมีเลือดและน้าคั่งในปอด ฟังเสียงปอดจะมีเสียง Crepitation
อ่อนเพลีย (Fatigue) จากการที่เซลล์ของร่างกายได้รับเลือดและออกซิเจนลดลง
ความดันโลหิตลดลง จากการที่หัวใจบีบตัวไม่มีประสิทธิภาพ
สมองขาดออกซิเจน มีอาการกระสับกระส่าย ความจาเสื่อม เป็นลม
พยาธิสรีรภาพและอาการแสดงหัวใจวายข้างขวา
พยาธิสรีรภาพ
หัวใจห้องล่างขวาล้มเหลว เป็นต่อเนื่องมาจากการมีแรงดันหลอดเลือดในปอดสูงรวมทั้งแรงดันในหลอดเลือด pulmonary artery จากการที่มีภาวะหัวใจห้องล่างซ้ายล้มเหลวมาก่อน
ทำให้หัวใจห้องล่างขวาพยายามบีบตัวเพื่อส่งเลือดไปฟอกที่ปอด เมื่อทางานหนักเข้าหัวใจถึงอ่อนล้า และเกิดการล้มเหลวในการทางาน
อาการ
การบวม (Edema) ตามส่วนต่างๆ เท้า ข้อเท้า ก้นกบ การบวมอาจกดบุ๋ม (Pitting Edema)
ตับโต จากการที่มีเลือดคั่งในหลอดเลือดในตับ
หลอดเลือดดำที่คอโป่ง
อาการทางระบบทางเดินอาหาร ผู้ป่วยจะแน่นจุกบริเวณใต้ชายโครงขวาหรือบริเวณลิ้นปี่ เป็นผลมาจากตับโตจากการมีน้าคั่ง
การวินิจฉัย
จากประวัติ, การตรวจร่างกาย, CxR
เพื่อดูขนาดของหัวใจหัวใจจะโตจากกลไกการปรับตัว และการมีน้าคั่งในปอด
การตรวจทางห้องปฏิบัติการเพื่อแยกโรค
โดยตรวจหา Serum BNP (brain natriuretic peptide) ค่าปกติ <100 pg/ml. หาก BNP> 500 pg/ml.
มีโอกาสเกิดโรคหัวใจล้มเหลวสูง
ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจเพื่อหาภาวะแทรกซ้อนจากภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ
Echocardiography จะบอกภาวะหัวใจล้มเหลวได้ โดยดูจากค่า Eject fraction (EF) ถ้าน้อยกว่า 40-55 ถือว่าเป็น HF
การรักษา
แก้ไขสาเหตุโดยตรงที่ทำให้เกิดภาวะหัวใจล้มเหลว
เช่น หัวใจพิการแต่กำเนิด ลิ้นหัวใจพิการ กล้ามเนื้อหัวใจตาย
ขจัดสาเหตุส่งเสริม
เช่น ต่อมไธรอยด์เป็นพิษ โลหิตจาง การติดเชื้อ
ลดการทำงานของหัวใจลง
จำกัดกิจกรรมต่าง ๆ
ลด Preload หรือลดจานวนเลือดที่ไหลกลับเข้าสู่หัวใจ
ให้ผู้ป่วยนั่งห้อยขาลงข้างเตียง หรือนอนบนเตียงในท่า Fowler’s position
ให้ยาขับปัสสาวะ เช่น Lasix ระวังโปตัสเซียมต่า แนะนาให้กินผลไม้ร่วมด้วย
การให้ยาขยายหลอดเลือดดำส่วนปลาย
ลด After load หรือลดแรงต้านของหลอดเลือดทางที่เลือดออกจากหัวใจ
ลดการคั่งของน้าและเกลือ
เพิ่มปริมาณเลือดออกจากหัวใจ
ให้ยาเพิ่มแรงในการบีบตัวของหัวใจ
ลดแรงต้านทานของหลอดเลือดแดงส่วนปลาย
ให้ยากลุ่ม Inotropic drug ที่มีฤทธิ์โดยเพิ่มแรงบีบตัวของหัวใจโดยตรง
การพยาบาล
ลดความต้องการใช้ออกซิเจนของร่างกายให้หัวใจทำงานลดลง โดยให้นอนพักบนเตียง
ให้ออกซิเจน
ให้นั่งหรือนอนศีรษะสูง
ดูแลให้ได้รับยาเพิ่มความดันโลหิต ยาขยายหลอดเลือด ตามแผนการรักษาของแพทย์
วัดสัญญาณชีพ การสังเกตอาการหอบเหนื่อย บวมตามร่างกายว่าเพิ่มขึ้นหรือลดลง
ลดการคั่งของน้าในร่างกาย
ประคับประคองทางด้านจิตใจ ให้กำลังใจ ให้ความมั่นใจ ให้ข้อมูลเกี่ยวกับโรค การรักษาพยาบาล
ให้ความรู้ในการปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันการเกิดอาการซ้าๆ และต้องมาโรงพยาบาลบ่อยขึ้น
Acute Coronary Syndrome (ACS)
ปัจจัยเสี่ยงของการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด
ปัจจัยที่ไม่สามารถควบคุมได้
กรรมพันธุ์
เพศ
อายุ
ปัจจัยที่สามารถควบคุมได้
การสูบบุหรี่
ความดันโลหิตสูง เบาหวาน
โรคอ้วน
Metabolic syndrome
อาการและอาการแสดง
เจ็บหน้าอกจากกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดไปเลี้ยง
ลักษณะการเจ็บหน้าอก
เจ็บหน้าอกจากหลอดเลือดหัวใจตีบ
เจ็บแบบแน่นๆ, เสียด, หนัก บริเวณกลางหน้าอก หาจุดเจ็บไม่ได้ อย่างน้อย 2 – 3 นาที
ร้าวไปกราม, หัวไหล่, แขนด้านใน
เหงื่อออก, เวียนศีรษะ, คลื่นไส้-อาเจียน, เหนื่อยหอบ
อาการทุเลาเมื่อหยุดพัก หรืออมยาอมใต้ลิ้น
เจ็บหน้าอกจากกล้ามเนื้อหัวใจตาย
แน่น, เสียด, หนัก บริเวณกลางหน้าอก หาจุดเจ็บไม่ได้ อย่างน้อย 20– 30 นาที
ร้าวไปกราม, หัวไหล่, แขนด้านใน
เหงื่อออก, เวียนศีรษะ, คลื่นไส้-อาเจียน, เหนื่อยหอบ
มีอาการขณะพัก, หลังจากออกกาลังรุนแรง
อาการไม่ทุเลาเมื่อหยุดพัก หรืออมยาอมใต้ลิ้น
การตรวจวินิจฉัย
การสอบถามซักประวัติ
การตรวจร่างกาย เช่น การจับชีพจร การฟังเสียงการเต้นของหัวใจ
การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ (Electrocariogram : ECG,EKG)
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ (Troponin I, Troponin T, CK-MB, SGOT, SGPT, LDH)
การถ่ายภาพรังสีทรวงอก (CXR)
การรักษาภาวะกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (STEMI)
การรักษาด้วยยาละลายลิ่มเลือด (Anti-Thrombolytic)
การรักษาด้วยวิธีการทาบอลลูน ถ่างขยายหลอดเลือดและใส่ขดลวด ((Percutaneous Coronary Intervention : PCI with Stent)
การรักษาด้วยวิธีการผ่าตัด (Coronary Artery Bypass Graft: CABG)
การรักษาด้วยยา Streptokinase
มีผลข้างเคียงสูงทำให้เลือดออกมาในจุดสำคัญ
เช่น สมอง ช่องท้อง หรือเลือดออกซ้าปริมาณมากในตำแหน่งที่เคยบาดเจ็บ
ข้อห้ามใช้อย่างเด็ดขาด
เคยเป็นอัมพาตเกิดจากเลือดออกในสมอง
เคยเป็นเนื้องอกในสมอง
เคยได้รับการผ่าตัดใหญ่ , บาดเจ็บรุนแรง
หรือได้รับบาดเจ็บที่ศีรษะ ใน 2 สัปดาห์
เจ็บแปล๊บอย่างรุนแรง ทะลุไปข้างหลัง
ข้อห้ามที่ผ่อนผันได้
เคยได้รับ SK ในระยะเวลา 2 ปี ที่ผ่านมา
หรือมีประวัติแพ้ SK
ตั้งครรภ์
เคยทา CPR (Cardio-pulmonary resuscitation) นานกว่า 10 นาที หรือ บาดเจ็บจากการทาCPR
มีปัญหาเลือดออกผิดปกติ/ ได้ยาต้านการแข็งตัวของเลือด
ขณะได้รับยา Streptokinase
เริ่มให้ยา Streptokinase ทีผสมในสารน้า 100 ซีซี ด้วย infusion pump อัตราการไหล 100 ml/hr ชั่วโมง
หมั่นสอบถามอาการเจ็บแน่นหน้าอก
ประเมินระดับความรู้สึกตัวเป็นระยะ ๆ เพื่อประเมินภาวะเลือดออกในสมอง
ตรวจวัดและ บันทึกความดันโลหิต ชีพจร และคลื่นไฟฟ้าหัวใจ ระดับ O2 Sat อย่างน้อยทุก 5 นาที
เฝ้าระวังการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากผลข้างเคียง
ภาวะเลือดออกง่ายและหยุดยาก อาการการแพ้ร่วมกับความดันโลหิตต่ำลงให้ปรับลดขนาดของยา Streptokinase
เฝ้าระวังสังเกตคลื่นไฟฟ้าหัวใจตลอดเวลา
การพยาบาลหลังจากฉีดสีสวนหัวใจ
ให้นอนหงายราบห้ามยกศีรษะ เหยียดขาที่ทำการผ่าตัดอย่างน้อย 6-8 ชั่วโมง
ประเมิน 6P ทุก 4 ชั่วโมง
Pain : ปวดรุนแรงทันทีทันใด ชั่วระยะเวลาหนึ่ง
Paresthesia : เป็นเหน็บ
Pallor: ซีด
Poikilothermia : เย็น
Paresis: ขยับขาได้น้อยลงจากการอ่อนแรงของกล้ามเนื้อ
Pulselessness : คลาชีพจรในตาแหน่งที่ต่ากว่าการอุดตันไม่ได้
ประเมิน Bleeding บริเวณแผลผ่าตัด
เฝ้าระวังภาวะไตวายเฉียบพลันจากการได้รับสารทึบแสงขณะฉีดสีสวนหัวใจ
โดยในผู้ป่วยที่ไม่มีข้อห้ามให้กระตุ้นให้ดื่มน้ำ และให้สารน้ำตามแผนการรักษา
คำแนะนาหลังทา PCI
หลังสวนหัวใจแล้ว 24 ชั่วโมง ผู้ป่วยสามารถอาบน้ำและถูสบู่ได้ แต่ควรปฏิบัติอย่างนุ่มนวล
หลีกเลี่ยงการแช่ตัวในอ่างอาบน้า ห้ามทาแป้ง หรือโลชั่นบริเวณแผล 1 สัปดาห์หลังการสวนหัวใจ
กรณีทำผ่าตัดที่ข้อมือหลีกเลี่ยงการบิด งอ ข้อมือและการ เกร็งหรือใช้ข้อมือนาน ๆ ห้ามใช้แขนข้างที่ทาหัตถการ
สามารถทำงานทั่วไปได้ ตามปกติ แต่ห้ามยก แบก หรือ ผลักของหนักๆ โดยเฉพาะ ช่วง 5-7 วันแรก ประมาณ 5 กิโลกรัมขึ้นไป
รับประทานยาต้านเกร็ดเลือดต่อเนื่องตามที่แพทย์สั่ง
Shock
เป็นกลุ่มอาการที่เกิดจากการที่มีการลดลงของ การไหลเวียนโลหิตสู่อวัยวะและเนื้อเยื่อส่วนปลาย
ก่อให้เกิดการเสียสมดุลระหว่างความต้องการ ออกซิเจนของเนื้อเยื่อส่วนปลายกับการนาออกซิเจนมาสู่เนื้อเยื่อนั้น
ก่อให้เกิดการสูญเสียหน้าที่ของอวัยวะต่างๆตามมาในที่สุด จนทาให้เกิดการเสียชีวิตได้
ชนิดของช็อก
ช็อกจากการเสียเลือดและน้ำ (hypovolemic shock)
สาเหตุ
ภายนอก
เสียเลือด เช่น การบาดเจ็บ อาเจียนเป็นเลือด
คลอดบุตร
เสียพลาสมา เช่น แผลไหม้
เสียน้าออกจากร่างกาย เช่น ความผิดปกติของฮอร์โมน ภาวะวิกฤตของต่อมหมวกไต
ภายใน
เสียเลือดภายใน เช่น ตับแตก ม้ามแตก
เสียน้าเข้าไปใสลาไส้ (fluid leak into the intestinal)
อาการ
ความดันโลหิตตก จากการไหลเวียนเลือดที่ลดลง
ชีพจรเร็ว เบา จากการไหลเวียนเลือดที่ลดลง ร่วมกับหัวใจเต้นเร็ว
เหงื่อออก ตัวเย็น จากหลอดเลือดแดงมีการหดตัว
กระหายน้า ปากแห้ง จากภาวะขาดน้า
อ่อนเพลีย จากปริมาณออกซิเจนที่ลดลง
การรักษา
ให้สารน้ำและ electrolyte ชดเชยตามชนิดที่เสียไป ในรายที่เสียเลือดมากกวา 20% ของ blood volume
ให้เลือดทดแทน แต่ระหว่างรอเลือดควรให้สารน้ำชนิดอื่นไปก่อน เช่น normal
ช็อกเกี่ยวกับหัวใจ (cardiogenic shock)
สาเหตุ
การสูญเสียประสิทธิภาพในการบีบตัวของกล้ามเนื้อหัวใจ
การอุดกั้นการไหลของเลือด (obstructive condition)
สาเหตุอื่นๆ ได้แก่ โรคของลิ้นหัวใจที่ทำให้ช่องลิ้นหัวใจมีขนาดเล็กลง เลือดผ่านเข้าออกได้น้อย
ช็อกจากการกระจายของเลือด (distributive shock หรือ vasogenic shock)
ช็อกจากระบบประสาท (nerogenic shock)
สาเหตุ
การบาดเจ็บของไขสันหลังส่วนบนถัดจากกระดูกสันหลังส่วนอก (thoracic spine)
ได้รับยาทางไขสันหลังในระดับสูง
ภาวะเครียดทางอารมณ์
ช็อกจากภูมิแพ้ (anaphylactic shock)
สาเหตุ
ช็อกจากการแพ้ (anaphylactic shock)
อาการ
ผิวหนังมีผื่นแดงเป็นลมพิษ
หายใจลาบาก เสียงหายใจมี wheezing และมี cyanosis มีการบวมบริเวณกล่องเสียง
ความดันโลหิตต่า กระสับกระส่ายร่วมกับหัวใจเต้นเร็วและหายใจเร็วขึ้น
อาจมีอาการอาเจียน ท้องเสีย เป็นตะคริว ปวดท้อง
ช็อกจากภาวะติดเชื้อ (septic shock)
สาเหตุ
ได้รับ endotoxin ของเชื้อ ได้แก่ แบคทีเรีย เชื้อรา ไวรัส และ โพรโทซัว ทาให้มีหลอดเลือดขยาย (vasodilatation) ทาให้ความดันโลหิตลดลง
การประเมินสภาพของภาวะช็อก
การซักประวัติการเจ็บป่วย
ข้อมูลทางคลินิก(clinical picture)
ความดันโลหิต systolic จะต่ากว่า 80 มม.ปรอท systolic ต่ากว่า 100 มม.ปรอท
จับชีพจรบริเวณ carotid artery, radial artery, femoral artery
เสียงหัวใจ (heartsound) เสียงหัวใจจะเต้นผิดปกติในผู้ป่วย cardlogenic shock
ได้ยินเสียง murmur ในผู้ป่วยเป็นโรคเกี่ยวกับลิ้นหัวใจ
หลอดเลือดดาที่คอ (neck vein)
การไหลกลับของเลือดในหลอดเลือดฝอย (capillary refill)
ประเมินการหายใจ ผู้ป่วยหายใจเร็วจากากรเผาผลาญในร่างกายสูง
ประเมินระดับความรู้สึกตัว
ผิวหนัง การประเมินภาวะซีด อุณหภูมิผิวหนังเย็นชื้น การยืดหยุ่นของผิวหนังไม่ดี ริมฝีปากซีด
การพยาบาล
การให้ O2 (Oxygen Administration) ผู้ป่วยช็อคต้องให้ high-flow oxygen เร็วที่สุด
การช่วยระบายอากาศ (Ventilation) ถ้าอัตราการหายใจน้อยกว่า 12 ครั้ง/นาที ให้ Hyperventilate ด้วย Ambubag ในอัตรา 20 ครั้ง/นาที
การควบคุมภาวะเลือดออก (Hemorrhage Control) ให้กดบริเวณบาดแผลที่มีเลือดออก ถ้าพบว่ายังมีเลือดออกอยู่ให้ยกส่วนปลายแขนหรือขาให้สูง
การจัดท่า (Positioning) ควรจัดให้ผู้ป่วยนอนยกปลายเท้าสูง 10-12 นิ้ว (Trendelenburg) เพื่อเพิ่มการไหลเวียนกลับของเลือดกลับเข้าสู่หัวใจมากขึ้น
การให้สารน้าทดแทน ชนิดของสารน้ำมีหลายชนิดที่นิยมใช้ได้แก่ 0.9% Normal Saline Ringer’s lactate
การใช้ยา ในผู้ป่วยที่มีอาการรุนแรง และไม่ตอบสนองต่อการทดแทนด้วยสารน้า