Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การช่วยฟื้นคืนชีพ ( CPR ) - Coggle Diagram
การช่วยฟื้นคืนชีพ ( CPR )
ข้อบ่งชี้ในการปฏิบัติ
การช่วยฟื้นคืนชีพ
เมื่อผู้บาดเจ็บหมดสติ หยุดหายใจหรือหายใจเฮือก
การช่วยฟื้นคืนชีพควรทำทันที ภายใน๔ นาที
จะช่วยป้องกันการเกิดเนื้อเยื่อขาดออกซิเจน
โดยเฉพาะเนื้อเยื่อสมอง
ขั้นตอนการปฏิบัติ
การช่วยฟื้นคืนชีพ
ประเมินความปลอดภัย ณ จุดเกิดเหตุ
ประเมินผู้บาดเจ็บ
โดยการเรียกปลุกเรียกผู้บาดเจ็บ
ทำการกระตุ้นตบแรงๆ
ที่บริเวณไหล่ทั้งสองข้างข
ขอความช่วยเหลือ
ประเมินการหายใจ
โดยการตรวจสอบการหายใจ ให้มองไปที่
หน้าอก หรือท้อง ว่ามีการเคลื่อนไหว
ขยับขึ้นลงหรือไม่ ใช้เวลาไม่น้อยกว่า ๕ วินาที
แต่ไม่เกิน ๑ วินาที หากผู้บาดเจ็บหยุดหายใจ
หรือหายใจเฮือก ให้ทำการกดหน้าอกปั๊มหัวใจทันที
การกดหน้าอก
5.1 กรณีผู้ใหญ่ ให้หาตำแหน่งการวางมือที่
ครึ่งล่างของกระดูกหน้าอกเพื่อกดหน้าอก
โดยใช้ส้นมือข้างหนึ่งวางบนบริเวณครึ่งล่าง
กระดูกหน้าอก แล้วเอามือหน้าอกเพื่อกด
หน้าอก โดยใช้ส้นมือข้างหนึ่งวางบนบริเวณ
ครึ่งล่างกระดูกหน้าอก แล้วเอามืออีกข้าง
หนึ่งวางทาบหรือประสานไปบนมือแรก
5.2 กรณีเด็กวางส้นมือของมือหนึ่งไว้บนกระดูกอก ตรง
กลางระหว่างแนวหัวนมทั้งสองข้าง (ใช้มือเดียวหรือใช้
สองมือ ขึ้นอยู่กับรูปร่างเด็ก ตัวเล็กหรือตัวโต)ถ้าใช้สอง
มือให้เอาอีกมือหนึ่งไปวางทาบหรือประสานกับมือแรก
กะประมาณให้แรงกดลงตรงกึ่งกลางระหว่างแนวหัวนม
ทั้งสองข้าง หรือใช้อีกมือหนึ่งดันหน้าผากเพื่อเปิดทาง
เดินลมหายใจ
5.3 กรณีทารก (อายุ ๑ เดือน ถึง ๑ ปี) กดหน้าอกด้วยนิ้ว
มือสองนิ้วที่กึ่งกลางหน้าอกเด็ก โดยใช้นิ้วชี้และนิ้วกลาง
หรือใช้นิ้วกลางและนิ้วนางกดหน้าอก
ความเร็วในการกดหน้าอก
กดหน้าอกแล้วปล่อย กดแล้วปล่อย ทำติดต่อกันไป
๓๐ ครั้ง ให้ได้ความถี่ของการกดมากกว่า ๑๐๐ ครั้ง
แต่ไม่เกิน ๑๒๐ ครั้ง โดยนับเป็นจังหวะสมํ่าเสมอ
“หนึ่ง และสอง และสาม และสี่ ไปเรื่อยๆ ส่วนหลัก
สิบขึ้น ไม่ต้องมีและ
เทคนิคในการกดหน้าอก
วางมือลงบนตำแหน่งที่ถูกต้อง ระวังอย่ากดลงบน
กระดูกซี่โครง เพราะจะเป็นต้นเหตุให้ซี่โครงหัก
แขนเหยียดตรงอย่างอแขน โน้มตัวให้หัวไหล่อยู่เหนือ
ผู้หมดสติ โดยทิศทางของแรงกดดิ่งลงสู่กระดูกหน้าอก
กรณีผู้ใหญ่ กดหน้าอกให้ยุบลงไปอย่างน้อย ๒ นิ้วหรือ ๕ ซม.
กรณีเด็ก กดหน้าอกให้ยุบลงอย่างน้อย ๑/๓ ของความ
หนาของทรวงอก หรือประมาณ ๒ นิ้ว (๕ ซม.)
ในจังหวะปล่อยต้องคลายมือขึ้นมาให้สุด เพื่อให้หน้าอก
คืนตัวกลับมาสู่ตำแหน่งปกติก่อนแล้วจึงทำการกดครั้งต่อ
ไป อย่ากดทิ้งนํ้าหนักไว้ เพราะจะทำให้หัวใจคลายตัวได้ไม่
เต็มที่ห้ามคลายจนมือหลุดจากหน้าอก เพราะจะทำให้
ตำแหน่งของมือเปลี่ยนไป
กรณีทารก กดหน้าอกให้ยุบลงอย่างน้อย ๑/๓ ของ
ความหนาของทรวงอกหรือประมาณ ๑.๕ นิ้ว (๔ ซม.)
การเปิดทางเดินหายใจ
โดยวิธีดันหน้าผากและยกคาง
การช่วยหายใจ
เมื่อเห็นว่าผู้หมดสติไม่หายใจหรือไม่มั่นใจว่าหายใจได้ ให้เป่าลมเข้าปอด ๒ ครั้งแต่ละครั้งใช้เวลา ๑ วินาที และต้องเห็นผนังทรวงอกขยับขึ้น
กดอก 30 ครั้ง สลับการเป่าลมเข้าปอด 2 ครั้ง
การจัดให้อยู่ในท่านัั่ง