Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ใหญ่ ระบบหัวใจและหลอดเลือด, นางสาวน้ำฝน เกิดขาว 62111301039 -…
การพยาบาลผู้ใหญ่ ระบบหัวใจและหลอดเลือด
ภาวะหัวใจล้มเหลว Congestive Heart Failure
หน้าที่
หัวใจซีกซ้ายรับเลือดที่มีออกซิเจนร่างกายแล้วสูบฉีดไปเลี้ยงร่างกาย
หัวใจซีกขวารับเลือดที่ใช้แล้วจากร่างกายแล้วนาไปฟอกที่ปอด
คือ
ภาวะหัวใจวายหรือหัวใจล้มเหลว (heart failure) เป็นกลุ่มอาการที่เป็นผลมาจากความผิดปกติทางโครงสร้างหรือการทางานของหัวใจ ทำให้มีผลต่อhemodynamic หรือหัวใจไม่สามารถสูบฉีดเลือดได้อย่างเพียงพอกับความต้องการของร่างกาย
สาเหตุและปัจจัยเสี่ยง
1.Abnormal loading condition
เป็นภาระที่หัวใจต้องรับภาระหนักอย่างผิดปกติ *pressure load/ volume overload
2.Abnormal muscle function
เป็นภาวะที่กล้ามเนื้อหัวใจทาหน้าที่ผิดปกติ* cardiomyopathy
3.Limited ventricular filling
เป็นความจากัดในการคลายตัวรับเลือดของ ventricle
hypertrophic obstructive cardiomyopathy
ชนิดของภาวะหัวใจล้มเหลว
ชนิดหัวใจล้มเหลวในการบีบตัว และหัวใจล้มเหลวในการคลายตัว
systolic heart failure
diastolic heart failure
ชนิดหัวใจล้มเหลวข้างซ้ายและข้างขวา
Left ventricle และ Right ventricle failure
ชนิดหัวใจล้มเหลวเฉียบพลันและเรื้อรัง
Acute & Chronic heart failure
การพยาบาล
ลดความต้องการใช้ออกซิเจนของร่างกายให้หัวใจทางานลดลง โดยให้นอนพักบนเตียง
ออกซิเจน
ให้นั่งหรือนอนศีรษะสูง
เพิ่มประสิทธิภาพในการบีบตัวของหัวใจ โดยดูแลผู้ป่วยให้รับยากลุ่มไดจิตาลิส ตามแผนการรักษา และระวังพิษของยา
ดูแลให้ไดรับยาเพิ่มความดันโลหิต ยาขยายหลอดเลือด ตามแผนการรักษาของแพทย์
เฝ้าระวังอาการที่ผิดปกติ โดยวัดสัญญาณชีพ การสังเกตอาการหอบเหนื่อย บวมตามร่างกายว่าเพิ่มขึ้นหรือลดลง ไม่ควรลดบวมด้วยการยกขาสูง การชั่งน้าหนักทุกวัน
ลดการคั่งของน้าในร่างกาย
7.1 จากัดน้าดื่ม บันทึกปริมาณน้าดื่มและปัสสาวะ
7.2 จากัดอาหารรสเค็ม
7.3 ดูแลให้ได้รับยาขับปัสสาวะ ให้แนะนาผู้ป่วยรับประทานผลไม้เพิ่ม เพื่อป้องกัน โปตัสเซียมในเลือดต่ำจากการขับปัสสาวะบ่อย
ประคับประคองทางด้านจิตใจ ให้กาลังใจ ให้ความมั่นใจ ให้ข้อมูลเกี่ยวกับโรค การรักษาพยาบาล
ให้ความรู้ในการปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันการเกิดอาการซ้าๆ และต้องมาโรงพยาบาลบ่อยขึ้น
EKG Arrhythmia
ผู้ป่วยหัวใจเต้นช้า (Bradycardia)
อาการ
หัวใจเต้นช้า น้อยกว่า 60 ครั้ง/นาที ร่วมกับมีอาการร่วมกับมีอาการหน้ามืดเป็นลม หมดสติไปชั่วขณะ แต่ยังคลาชีพจรได้
การรักษาและการพยาบาลที่สาคัญ คือ EKG 12 lead และให้ Atropine
Ventricular fibrillation
สาเหตุ
EKG ชนิดนี้มักมีสาเหตุจากกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด หัวใจห้องล่างเต้นสั่นพลิ้ว จึงไม่แรงพอที่จะมีชีพจร และความดันโลหิต อาจมีรูปร่างหลากหลาย
การช่วยเหลือโดยการทำ CPR ร่วมกับ Defibrillation
PEA (Pulseless electrical activity)
EKG ชนิดนี้ บางครั้งมีหน้าตาเหมือนปกติ แต่จะพบอาการแสดงของผู้ป่วยที่ผิดปกติ เช่น ตาค้าง หรือหลับไป หมดสติเรียกไม่รู้ตัว คลาไม่พบชีพจร ซึ่งหมายถึง หัวใจหยุดยังมีการส่งกระแสไฟฟ้าแต่ไม่มีประสิทธิภาพพอให้เกิดชีพจร
ต้องทาการช่วยเหลือโดย CPR
ขั้นตอน CPR
รีบเรียกทีมมาช่วย
ทาการกดนวดหน้าอก
ให้ยา Adrenaline ตามแผนการรักษา
หาสาเหตุของหัวใจหยุดเต้น
การพยาบาลผู้ป่วยที่ใส่เครื่องกระตุ้นหัวใจชนิด PPM (Permanent pacemaker)
ภาวะแทรกซ้อนที่พบบ่อย
มีเลือดออกหรือมีก้อนเลือดที่เกิดจากการมีเลือดออกและคั่งอยู่ใต้ผิวหนัง หรือติดเชื้อบริเวณที่ใส่ เครื่องกระตุ้นไฟฟ้าหัวใจ
มีอาการแพ้ยาที่ได้รับระหว่างการใส่เครื่อง
หลอดเลือดได้รับความเสียหาย
สายสื่อสัญญาณไฟฟ้าหลุดเลื่อนจากตาแหน่งเดิม
มีลมหรือเลือดในช่องเยื่อหุ้มปอด Pneumothorax / Hemothorax
เกิดลิ่มเลือดอุดตันทาให้เกิดภาวะหลอดเลือดในสมองตีบ กล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน หรือภาวะอื่น ซึ่งพบได้น้อยมาก
เสียชีวิต (โอกาสเกิดน้อยมาก)
การพยาบาล PPM ใน 24 ชั่วโมงแรก
ติดตามการทางานของเครื่องกระตุ้นหัวใจแบบชั่วคราวให้มีการ ทางานปกติตลอดเวลา
ติดตามคลื่นไฟฟ้าหัวใจและจังหวะการเต้นของหัวใจอย่างต่อเนื่อง พร้อมกับการจับชีพจร
Oประเมินสัญญาณชีพ โดยวัดความดันโลหิต ชีพจร และอัตราการ หายใจทุก 1 ชั่วโมงหรือตามความเหมาะสม
ประเมินอาการของภาวะเลือดออกจากหัวใจในหนึ่งนาทีลดลง เช่น ผิวหนังเย็น ซีด ปัสสาวะออกลดลง ความดันโลหิตต่า เจ็บหน้าอก ระดับ การรู้สึกตัวลดลง หน้ามืด เวียนศีรษะ เป็นลม หมดสติเป็นต้น
ประเมินอาการ ลมรั่วหรือมีเลือดในช่องเยื่อหุ้มปอด Pneumothorax / Hemothorax มีโอกาสพบบ่อย ซึ่งจะพบ ผู้ป่วยมีอาการเหนื่อยมากขึ้นแบบเฉียบพลัน พยาบาลควรเตรียมอุปกรณ์ใส่ ICD ให้พร้อมเพื่อระบายลมรั่วในปอด
*
การพยาบาล PPM ใน 7 วันแรก
รับประทานยาฆ่าเชื้อให้ครบตามแพทย์สั่ง
การปฏิบัติตนเรื่องการใช้แขน
-ใน 7 วันแรก ไม่ให้ยกแขนด้านที่ใส่เครื่อง โดยจะมีสายคล้องแขนไว้ตลอดเวลา
-แขนแนบลาตัวไม่กางไหล่ จนมาเปิดแผล พบแพทย์เมื่อครบกาหนด 1 สัปดาห์
-7 วัน ถึง 1 เดือน กางแขนระดับไหล่
-มากกว่า 1 เดือน ยกเหนือไหล่ได้
งดใส่เสื้อสวมหัว (ใส่เสื้อแบบติดกระดุมหน้า)
Oช่วงแรกที่แผลยังปิดไม่สนิท จะปิดแผ่นกันน้า โดยห้ามแกะเองเด็ดขาด
Oหากมีอาการผิดปกติ เช่น ใจสั่น หน้ามืดเป็นลม เหนื่อยหอบผิดปกติ สะอึกตลอดเวลา ควรรีบแจ้งแพทย์ พยาบาล
นางสาวน้ำฝน เกิดขาว 62111301039