Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ใหญ่ ระบบหัวใจ และหลอดเลือด, นางสาวสุชานาถ สุโขประสพชัย …
การพยาบาลผู้ใหญ่ ระบบหัวใจ
และหลอดเลือด
ภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน
(Acute coronary syndrome : ACS)
อาการแสดง
เจ็บหน้าอกจากกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดไปเลี้ยง
เจ็บขณะพักนานกว่า 20 นาที
ร้าวไปกราม หัวไหล่ แขนด้านใน
เหงื่อออก เวียนศีรษะ คลื่นไส้อาเจียน
การรักษา
การรักษาด้วยยาละลายลิ่มเลือด
การรักษาด้วยวิธีการทําบอลลูน ถ่างขยายหลอดเลือดและใส่ขดลวด
คําแนะนําหลังทํา PCI
หลังสวนหัวใจแล้ว 24 ชม. ผู้ป่วยสามารถอาบน้ำและถูสบู่ได้
หลีกเลี่ยงการแช่ตัวในอ่างอาบน้ำ ห้ามทาแปงหรือทาโลชั่น บริเวณแผล 1 สัปดาห์
ห้ามยก แบก ผลักของหนักๆ โดยเฉพาะ ช่วง 5-7 วันแรก ประมาณ 5 กิโลกรัมขึ้นไป
การรักษาด้วยวิธีการผ่าตัด
การรักษาเบื่องต้น
MONA
M
Morphine
O
O2 therapy
N
Nitrate
A
ASA
Aspirin 160 / 325 mg 1เม็ด เคี้ยวทันที
คำแนะนำ
ไม่ควรให้เกิดอาการท้องผูก หรือ ต้องออกแรงในการเบ่งถ่ายมาก
ยาอมใต้ลิ้น
ให้อมยาใต้ลิ้น 1 เม็ดถ้ามีอาการเจ็บแน่นหน้าอก
ถ้าอาการไม่ทุเลาให้อมยาซ้ำอีก 2 ครั้ง
ครั้งละ 1 เม็ด แต่ละครั้งห่างกัน 5 นาที
หากอมยาครบ 3 เม็ด ยังไม่หายให้รีบไปพบแพทย์
หลีกเลี่ยง หรืองดบุหร
หลีกเลี่ยงเครื่องดื่มประเภท ชา กาแฟ น้ำอัดลม
และเครื่องดื่มประเภทมึนเมา
ควรรับประทานยาตามแผนการรักษาให้ ครบถ้วน
ไม่หยุดยาเอง
Shock
แนวทางการรักษา
เปิดเส้นให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำด้วยเข็มขนาดใหญ่ เบอร์ 16,18
ห้ามเลือดภายนอก
จัดการทางเดินหายใจ : ใส่ท่อหายใจ
ประเมิณ และเฝ้าระวังภาวะตกเลือดภายในและทำผ่าตัดเพื่อห้ามเลือดอย่างเร่งด่วน
ช่วยหายใจ : ให้ออกซิเจน เครื่องช่วยหายใจ เพื่อให้เนื้อเยื่อได้รับออกซิเจนอย่างพอเพียง
Septic shock
สาเหตุ
ได้รับ endotoxin ของเชื้อได้แก่ แบคทีเรีย เชื้อรา ไวรัส และโพรโตซัว
ทำให้หลอดเลือดขยาย ความดันโลหิตลดลง
อาการ
อัตราการหายใจ >20 ครั้ง/นาที หรือ PaCO2 < 32
อัตราการเต้นของหัวใจ>90องศา ครั้ง/นาที
อุณหภูมิ>38องศา หรือ <36องศา หนาวสั่น
WBC>12,000 เซลล์/ลบ.มม
หรือ > 10% immature band forms
หรือ < 4,000 เซลล์/ลบ.มม
ชนิดของช็อก
ช็อกจากการเสียเลือดและน้ำ
ช็อกเกี่ยวกับหัวใจ
ช็อกจากการกระจายของเลือด
ช็อกจากภูมิแพ้
ช็อกจากภาวะติดเชื้อ
ช็อกจากระบบประสาท
ช็อกจากการเสียเลือดและน้ำ
สาเหตุ
ภายนอก
เสียพลาสมา
เสียเลือด
เสียน้ำออกจากร่างกาย
ภายใน
เสียเลือดภายใน เช่น ตับม้ามแตก
เสียน้ำเข้าไปในลำไส้
การแบ่งระดับความรุนแรงของ Hypovolemic shock และการรักษา
Anaphylactic shock
อาการแสดง
ความดันโลหิตต่ำ กระสับกระส่าย ใจเต้นเร็ว
อาเจียน ท้องเสีย เป็นตะคริว ปวดท้อง
หายใจลำบาก เสียงหายใจมีเสียงwheezing และมีcyanosis
กลั้นปัสสาวะไม่ได้ เลือดออกทางช่องคลอด
ผิวหนังมีผื่นแดงเป็นลมพิษ
การบริหารจัดการภาวะช็อกจากการแพ้
EKG Arrhythmiaและcardiacarrest
Bradycardia
การรักษาและการพยาบาลที่สาคัญ
EKG 12 lead และให้Atropine
หัวใจเต้นน้อยกวา่ 60 ครั้ง/นาทีร่วมกับอาการหน้ามืดเป็นลม หมดสติไปชั่วขณะ แต่ยังคลําชีพจรได้
Ventricular fibrillation
สาเหตุ
กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด หัวใจห้องล่างเต้นสั่น พลิว/ จึงไม่มีP และ BP
การช่วยเหลือ หรือการรักษา
ทํา CPR ร่วมกับ Defibrillation
Pulseless electrical activity
หัวใจหยุดแต่ยังมีการส่งกระแสไฟฟ้าแต่ไม่มีประสิทธิภ าพพอให้เกิดชีพจร
อาการ
ตาค้าง หรือหลับไป หมดสติเรียกไม่รู้ตัว คลําไม่พบชีพจร
การช่วยเหลือ หรือการรักษา
ทํา CPR
ขั้นตอน การทํา CPR
รีบ เรียกทีมมาช่วย
ทําการกดนวดหน้าอก
ให้ยา Adrenaline ตามแผนการรกัษา
หาสาเหตุของหัวใจหยุดเต้น
นางสาวสุชานาถ สุโขประสพชัย
รหัสนักศึกษา 62111301093 เลขที่90