Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยระบบหัวใจ และหลอดเลือด, นางสาว บุศกร ชุ่มจิตร…
การพยาบาลผู้ป่วยระบบหัวใจ
และหลอดเลือด
Acute Coronary Syndrome
(ACS)
อาการและอาการแสดง
อาการเจ็บหน้าอก
จากกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดไปเลี้ยง
บริเวณที่เจ็บหน้าอก
บริเวณ ขากรรไกร คาง
บริเวณกลางอก
บ่า/ หัวไหล่
เจ็บร้าวไปที่แขน
ด้านในทั ้ง 2 ข้าง
ต้องซักประวัติอาการเจ็บหน้าอกให้
ชัดเจน
การวินิจฉัย
• การสอบถามซักประวัติ
• การตรวจร่างกาย เช่น การจับชีพจร การฟังเสียงการเต้นของหัวใจ
• การตรวจคลื่นไฟฟ้ าหัวใจ (Electrocariogram : ECG,EKG)
• การตรวจทางห้องปฏิบัติการ (Troponin I, Troponin T, CK-MB, SGOT, SGPT, LDH)
• การถ่ายภาพรังสีทรวงอก (CXR)
• การตรวจคลื่นเสียงสะท้อนหัวใจ (Echocardiography)
• การเดินสายพาน (Exercise Stress Test : EST)
• การตรวจสวนหัวใจ หรือการฉีดสี
(Coronary Angiogram : CAG)
การรักษา
รักษาเบื้องต้น
โดย MONA
M = Morphine
O = O2 therapy (Oxygen therapy : เมื่อมีข้อบ่งชี ้ เมื่อ O2 sat < 94%)
N = Nitrate (ข้อห้าม ในการใช้ Nitrates : 1.มี BP<90/60 2.HR < 50 หรือ > 100)
A = ASA (Aspirin 160 หรือ 325 mg 1 เม็ด เคี้ยวทันที
ข้อห้ามในการให้ - ผู้ที่แพ้ยา ASA และเลือดออกในทางเดินอาหาร)
การรักษาด้วยยา
Streptokinase
การพยาบาลขณะได้รับยา
Streptokinase
เริ่มให้ยา Streptokinase ทีผสมในสารน้ำ 100 ซีซี ด้วย infusion pump อัตราการไหล 100 ml/hr ชั่วโมง
ควรหยุดยา Nitroglycerine ทุกชนิดในระหว่างที่ได้ยา Streptokinase เพราะจะเสริมฤทธิ์ทำ
ให้เพิ่มความรุนแรงในการเกิดความดันโลหิตต่ำ
หมั่นสอบถามอาการเจ็บแน่นหน้าอก
ประเมินระดับความรู้สึกตัวเป็นระยะ ๆ เพื่อประเมินภาวะเลือดออกในสมอง
ตรวจวัด บันทึก BP PR EKG O2 Sat อย่างน้อยทุก 5 นาที
เฝ้าระวังการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากผลข้างเคียงของStreptokinase ได้แก่ มีภาวะเลือดออกง่ายและหยุดยาก อาการการแพ้ร่วมกับความดันโลหิตต่ำลงให้ปรับลดขนาดของยา Streptokinase พร้อมทั ้งรายงานแพทย์เพื่อพิจารณาให้การช่วยเหลือโดยให้สารน้ำชนิด 0.9 % NSS 100-200 ml ทางหลอดเลือดดำภายใน 15 -20 นาทีถ้าความดันโลหิตยังต่ำ แพทย์มักจะเริ่มให้ยา Dopamine หยดเข้าทางหลอดเลือดดำเพื่อเพิ่มความดันโลหิต
เฝ้าระวังสังเกตคลื่นไฟฟ้าหัวใจตลอดเวลา เนื่องจากผลของยาอาจทำให้เกิดคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
ที่อันตราย เช่น VF, VT
เตรียมเครื่อง Defibrillation เมื่อเกิด VF, VT และช่วยแพทย์ทำ Defibrillation และ CPR
การรักษาด้วยวิธีการทำบอลลูน
ถ่างขยายหลอดเลือดและใส่ขดลวด
ฉีดสีสวนหัวใจ
การพยาบาลหลังจากฉีดสี
ให้นอนหงายราบห้ามยกศีรษะ เหยียดขาที่ทำผ่าตัดอย่างน้อย 6-8 ชั่วโมง
กรณีทำผ่าตัดที่แขนไม่ต้องนอนราบ แต่เน้นย้ำเรื่องการเหยียดข้อมือให้ตรง ห้ามงอแขน ไม่นอนทันใน 24 ชม.แรก
ประเมิน 6P ทุก 4 ชั่วโมง
ประเมิน Bleeding บริเวณแผลผ่าตัด
ประเมินสัญญาณชีพ ดังนี้ Post-operative Vital Signs: Every 15 minutes x 4, Every 30 minutes x 2, Every 1 hour x 4 then every 4 hours (if stable) until 24 hours post-op.
เฝ้าระวังภาวะไตวายเฉียบพลันจากการรับสารทึบแสงขณะฉีดสีสวนหัวใจ ในPt.ที่ไม่มีข้อห้ามให้กระตุ้นให้ดื่มน้ำ และให้สารน้ำตามแผน
congestive heart failure
ชนิดของภาวะหัวใจล้มเหลว
ล้มเหลวในการบีบตัว
และหัวใจล้มเหลวในการคลายตัว
หัวใจล้มเหลวข้างซ้ายและขวา
หัวใจล้มเหลวเฉียบพลันและเรื้อรัง
อาการ
หัวใจล่างซ้ายล้มเหลว
หายใจหอบเหนื่อย จากมีการคั่งของเลือดและน้ำที่ปอดผิวซีด/ เขียว
นอนราบไม่ได้ (Orthopnea) และนอนหลับไปแล้วหลายชั่วโมงแล้วตื่นขึ้นมานั่งหอบ เรียกอาการนี้ ว่า (Paroxysmal nocturnal dyspnea : PND)
การไอ เป็นอาการเด่นชัดที่พบบ่อย เกิดจากการมีเลือดและน้ำคั่งในปอด ฟังเสียงปอดจะมีเสียง Crepitation
อ่อนเพลีย (Fatigue) จากการที่เซลล์ของร่างกายได้รับเลือดและออกซิเจนลดลง
ความดันโลหิตลดลง จากการที่หัวใจบีบตัวไม่มีประสิทธิภาพ
อาการเจ็บหน้าอก อาการทางระบบไต ปัสสาวะลดลง
ผอมและขาดสารอาหาร (Cachexia and malnutrition)
หัวใจล่างขวาล้มเหลว
การบวม (Edema) ตามส่วนต่างๆ เท้า ข้อเท้า ก้นกบ การบวมอาจกดบุ๋ม (Pitting Edema)
ตับโต จากการที่มีเลือดคั่งในหลอดเลือดในตับ
ท้องมาน (Ascites)
หลอดเลือดดำที่คอโป่ ง
ผู้ป่วยจะแน่นจุกบริเวณใต้ชายโครงขวาหรือบริเวณ
ลิ้นปี่ เป็นผลมาจากตับโตจากการมีน้ำคั่ง
การพยาบาล
ลดความต้องการใช้ออกซิเจนของร่างกายให้หัวใจทำงานลดลง โดยให้นอนพักบนเตียง
ให้นั่งหรือนอนศีรษะสูง
เพิ่มประสิทธิภาพในการบีบตัวของหัวใจ
ดูแลให้ได้รับยาเพิ่มความดันโลหิต ยาขยายหลอดเลือด
เฝ้าระวังอาการที่ผิดปกติ โดยวัดสัญญาณชีพ
ลดการคั่งของน้ำในร่างกาย
ประคับประคองทางด้านจิตใจ
ให้ความรู้ในการปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันการเกิดอาการซ้ำๆ
EKG Arrhythmia และ
cardiac arrest
(Bradycardia)
อาการ
หัวใจเต้นช้า น้อยกว่า 60 ครั้ง/นาที ร่วมกับมีอาการร่วมกับมีอาการหน้ามืดเป็นลม หมดสติไปชั่วขณะ แต่ยังคลำชีพจรได้
การรักษาและการ
พยาบาลที่สำคัญ
EKG 12 lead และให้ Atropine
Ventricular fibrillation
มีสาเหตุจากกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด หัวใจห้องล่างเต้นสั่นพลิ้ว จึงไม่แรงพอที่จะมีชีพจร และความดันโลหิตอาจมีรูปร่างหลากหลาย
การช่วยเหลือ
การทำ CPR ร่วมกับ Defibrillation
PEA
(Pulseless electrical activity)
บางครั้งมีหน้าตาปกติ แต่จะพบอาการแสดงผิดปกติ เช่นตาค้าง หรือหลับไป หมดสติเรียกไม่รู้ตัว คลำไม่พบชีพจร ซึ่งหมายถึง หัวใจหยุดยังมีการส่งกระแสไฟฟ้าแต่ไม่มีประสิทธิภาพพอให้เกิดชีพจร
การรักษา
ต้องทำการช่วยเหลือโดย CPR
รีบเรียกทีมมาช่วย
ทำการกดนวดหน้าอก
ให้ยา Adrenaline ตามแผนการรักษา
หาสาเหตุของหัวใจหยุดเต้น
นางสาว บุศกร ชุ่มจิตร 62111301044
เลขที่ 42