Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ใหญ่ ระบบหัวใจและหลอดเลือด, จัดทำโดย - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ใหญ่
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
โรคหลอดเลือดหัวใจเฉียบพลัน Acute Coronary Syndrome (ACS)
ปัจจัยเสี่ยง
พันธุกรรม
เพศ
อายุ
อาการ
เจ็บหน้าอก
ร้าวแขนซ้าย
เหงื่อแตก
ใจสั่น วูบ
การวินิจฉัย
CK-MB สูง
TNT > 0.1
TNI > 1.5
ดู EKG
การรักษา
ลด chest pain
ให้ออกซิเจน
EKG 12 lead
ส่งเสริมการปรับตัวเมื่อกลับบ้าน
ระวังภาะแทรกซ้อน
หลักการพยาบาลสำคัญ
M = Morphine
O = Oxygen
เมื่อ O2 < 94%
N = Nitroglycerine
ห้ามถ้า BP <90/60 HR<50 หรือ >100
A = ASA
การพยาบาลก่อนให้ยา Steptokinase
ซักประวัติก่อน
ข้อห้าม
เคยเป็นจากเลือดออกในสมอง
เคยเป็นเนื้องอก
เคยผ่าตัดใหญ่
ผ่อนผันได้
ตั้งครรภ์
เคยทำ CPR นาน 10 นาที
BP > 180/110
เลือดออกผิดปกติ
โรคหัวใจเลือดคั่ง (Congestive heart failure : CHF)
สาเหตุ
ความดันโลหิตสูง
ลิ้นหัวใจผิดปกติ
โรคอ้วน เบาหวาน
หยุดหายใจขณะหลับ
การจำแนกระดับความรุนแรงและอาการ
NYHA CLASSIFICATION
Class I
ทำกิจกรรมไม่เหนื่อย
Class II
จำกัดกิจกรรม เหนื่อยก็พัก
Class III
มีขีดจำกัดชัดเจน
Class IV
ไม่สามารถทำกิจกรรมได้ เหนื่อยล้า
AHA/ACC guidelines
STAGE A
ปัจจัยเสี่ยงสูง
STAGE B
มีโรคหัวใจ ไม่มีอาการ
STAGE C
มีโรคหัวใจ มีอาการ
STAGE D
ไม่ตอบสนองการรักษา มีอาการขณะพัก
แบ่งเป็น
หัวใจวายข้างซ้าย
อาการ
หายใจหอบเหนื่อย
นอนราบไม่ได้
ไอ ฟังปอดมีเสียง Crepitation
อ่อนเพลีย ซีด
BP ลดลง
เจ็บหน้าอก
ผอม ขาดสารอาหาร
หัวใจล่างขวา
อาการ
ตับโต
ท้องมาน
บวมกดบุ๋มตามส่วนต่างๆ เท้า ข้อเท้า
การรักษา
แก้ไขตามสาเหตุที่ทำให้เกิด
ลดการทำงานของหัวใจ
จำกัดกิจกรรม
ให้ยาขับปัสสาวะ
Lasix ระวังโปตัสเซียมต่ำ
เพิ่มปริมาณเลือดออกจากหัวใจ
ให้ยากลุ่ม Digitalis
งดให้ถ้า P < 60 ครั้ง/นาที
การพยาบาล
ให้นอนพักบนเตียง ลดการใช้ออกซิเจน
ให้ออกซิเจน
นอนศีรษะสูง
ลดการคั่งของน้ำในร่างกาย
จำกัดน้ำ บันทึกสารเข้าออก
จำกัดอาหารลดเค็ม
ให้ยาขับปัสสาวะ
Shock
คือ
มีการลดลงของการไหลเวียนโลหิตสู่อวัยวะและเนื้อเยื่อส่วนปลาย ทำให้เสียสมดุล
วินิจฉัย
BP ต่ำ
ปัสสาวะน้อยลง
แบ่งเป็น
ช็อกจากการเสียเลือดและน้ำ (hypovolemic shock)
สาเหตุ
เสียเลือด
เสียน้ำออกจากร่างกาย
อาการ
BP drop , PP เร็วเบา
กระหายน้ำ อ่อนเพลีย
เหงื่อออก
หายใจเร็ว
ผิวหนังม่วง ลาย
การพยาบาล
ให้สารน้ำและอิเล็กโทไลต์
ให้เลือดทดแทน
ช็อกเกี่ยวกับหัวใจ (cardiogenic shock)
สาเหตุ
กล้ามเนื้อหัวใจตาย
อุดกั้นของการไหลของเลือด
ช็อกจากการกระจายของเลือด (distributive shock หรือ vasogenic shock)
ช็อกจากระบบประสาท (nerogenic shock)
สาเหตุ
บาดเจ็บของไขสันหลัง
ได้ยาเกินขนาด
ช็อกจากภูมิแพ้ (anaphylactic shock)
อาการ
ผื่นแดงเป็นลมพิษ
หายใจลำบาก
อาเจียน ท้องเสีย
เสียงแหบ
ช็อกจากภาวะติดเชื้อ (septic shock)
สาเหตุ
ได้รับเชื้อจากแบคทีเรีย เชื้อรา ไวรัส โพรโทซัว
ประเมินผู้ป่วย
BP โดย sys < 80 mmHg. และ PP แคบ
RP > 100 ครั้ง/นาที
เสียงหัวใจ murmur
หลอดเลือดดำที่คอโป่งพอง
ประเมินปัสสาวะออกน้อยลง < 30 cc/hr
SIRS CRITERIA +อวัยวะที่ติดเชื้อ
T > 38° ซ.หรือ < 36° ซ. หนาวสั่น
อัตราการเต้นของหัวใจ >90 ครั้ง/นาที
RP > 20 ครั้ง/นาที หรือ PaCO2 < 32
WBC> 12,000 เซลล์/ลบ.มม.หรือ < 4,000 เซลล์/ลบ.มม. หรือ > 10% immature band forms
การรักษา
ใส่ท่อช่วยหายใจ
ให้ออกซิเจน
ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ห้ามเลือดภายนอก
การพยาบาล
ให้ O2 แบบ mask 12-15 ลิตร/นาที
ควบคุมภาวะเลือดออก
จัดท่ายกปลายเท้าสูง เพิ่มการไหลเวียนเลือดกลับสู่หัวใจ
ให้สารน้ำ 0.9% NSS
Cardiac arrest
ผู้ป่วยหัวใจเต้นช้า (Bradycardia)
หัวใจเต้นช้า น้อยกว่า 60 ครั้ง/นาที
หน้ามืดเป็นลม หมดสติไปชั่วขณะ แต่ยังคลำชีพจรได้
การรักษาและการพยาบาลที่สำคัญ
EKG 12 lead และให้ Atropine
Ventricular fibrillation
สาเหตุจากกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด หัวใจห้องล่างเต้นสั่นพลิ้ว จึงไม่แรงพอที่จะมีชีพจร และความดันโลหิต
การพยาบาล
ทำ CPR ร่วมกับ Defibrillation
PEA (Pulseless electrical activity)
อาการ
ตาค้าง
หมดสติเรียกไม่รู้ตัว
คลำไม่พบชีพจร
การพยาบาล
ทำ CPR
รีบเรียกทีมมาช่วย
ทำการกดนวดหน้าอก
ให้ยา Adrenaline ตามแผนการรักษา
หาสาเหตุของหัวใจหยุดเต้น
จัดทำโดย
นางสาว สุพัชญา หลอดจำปา เลขที่ 96 ชั้นปีที่ 2 รุน 37รหัสนักศึกษา 62111301099