Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สรุปการพยาบาลระบบหัวใจและหลอดเลือด, นางสาวคีตภัทร บุญขำ เลขที่ 9 รหัส…
สรุปการพยาบาลระบบหัวใจและหลอดเลือด
ภาวะหัวใจล้มเหลว CGF
คือ
กลุ่มอาการที่เป็นผลมาจากความผิดปกติทางโครงสร้าง/การทำงานของหัวใจ
ส่งผลให้
มีผลต่อhemodynamic /หัวใจสูบฉีดเลือดได้อย่างเพียงพอกับความต้องการ
พยาธิ
Left Sided Failure
หายใจหอบเหนื่อย
นอนราบไม่ได้ ตื่นขึ้นมานั่งหอบ
ความดันโลหิตลดลง
ไอ ฟังเสียงปอดจะมีเสียง Crepitation
Right Sided Failure
บวมตามส่วนต่างๆ ท้องมาน
ตับโต
หลอดเลือดดำที่คอโป่ง
จุกบริเวณใต้ชายโครงขวาหรือบริเวณลิ้นปี่
การพยาบาล
ลด Preload
จำกัดน้ำและเกลือโซเดียม
นั่งห้อยขา จัดท่านอนศีรษะสูง
ให้ยาขับปัสสาวะ เช่น Lasix
ลด aferload
ให้ยาขยายหลอดเลือด
NTG/Hydralazine/ACEI
ดูแลเรื่อง O2
ให้ยากระตุ้นการทํางานของหัวใจ
ภาวะ Shock
Hypovolemic shock
สาเหตุ
ปริมาตรเลือดและน้ำลดลง
แบ่งเป็น
ภายใน
เสียเลือดภายใน เช่น ตับ/ม้ามแตก
เสียน้ำเข้าไปในลำไส้
เสียน้ำเข้าไปในส่วนที่3ของร่างกาย เช่น ascites
ภายนอก
เลือด เช่น อุบัติเหตุ
เสียพลาสม่า เช่น ไฟไหม้
เสียน้ำออกจากร่างกาย
อาการ
BP drop P เบาเร็ว
เหงื่อออก ตัวเย็น หายใจเร็ว
กระหายน้ำปากแห้ง อ่อนเพลีย
ผิวเย็น ม่วง ลาย เห็ดชัดที่ส่วนปลาย
ระดับความรุนแรงและการรักษา
Cardiogenic shock
สาเหตุ
การหดตัวของกล้ามเนื้อหัวใจผิดปกติ
ได้แก่
สูญเสียประสิทธิภาพในการบีบตัว เช่น กล้ามเนื้หัวใจอ่อนแรง
การอุดกั้นการไหลของเลือด เช่น มีก้อนเลือดขนาดใหญ่อุดตันหลอดเลือด pulmonary
สาเหตุอื่นๆ เช่น ลิ้นหัวใจรั่ว
Distributive shock
แบ่งเป็น
neurogenic shock
สาเหตุ
การบาดเจ็บบของ thoracic spine
ได้รับยาทางไขสันหลังในระดับสูง
ภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ
anaphylactic shock
สาเหตุ
ได้รับการกระตุ้นสารกระตุ้นที่เปรียบเสมือน antigen
เช่น
ยา
อาหารบางประเภท
แมลงกัดต่อย
อาการ
ผิวหนังมีผื่นแดงเป็นลมพิษ
หายใจลำบาก
ความดันโลหิตต ่า กระสับกระส่ายร่วมกับหัวใจเต้นเร็วและหายใจเร็วขึ้น
Septic shock
สาเหตุ
ได้รับ endotoxin ของเชื้อไวรัส/แบคทีเรีย/โปรโตซัว
อาการ
T> 38° c / T < 36° c หนาวสั่น
RR > 20 ครั้ง/นาที หรือ PaCO2 < 32
P >90 ครั้ง/นาที
WBC> 12,000 เซลล์/ลบ.มม. หรือ < 4,000 เซลล์/ลบ.มม.
การพยาบาล
ให้ O2
ให้ non-rebreather mask 12-15 ลิตร/นาที
ช่วยระบายอากาศ
ควบคุมภาวะเลือดออก
ห้ามเลือด กดบริเวณที่มีเลือดออก
จัดท่า
ให้ Pt.นอนยกปลายเท้า
ให้สารน้ำ
ใช้ยาในรายที่มีอาการรุนแรง
ได้แก่
กลุ่มยาที่ทำให้หลอดเลือดหดตัว
กลุ่มยาช่วยเพิ่มการบีบตัวของหัวใจ
กลุ่มยาเพิ่มการไหลเวียนเลือดสู่กล้ามเนื้อหัวใจ
เฝ้าระวังและตรวจประเมิน
EKG Arrhythmia และ
cardiac arrest
ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ
Cardiac Arrhythmia
คือ
ค.ผิดปกติในอัตราการเต้นของหัวใจ
เต้นช้า/เร็วมากเกินไปไม่เหมาะกับกิจกรรมของร่างกายในขณะนั้น
ค.ผิดปกติในจังหวะการเต้นของหัวใจ
เต้นไม่สม่ำเสมอ เต้นๆหยุดๆ
ชนิด
หัวใจเต้นช้า Bradyarrhythmia
คือ
เต้นน้อยกว่า 60 ครั้ง/นาที
อาการร่วม
หน้ามืด เป็นลม หมดสติชั่วขณะ
การพยาบาล
EGK 12 lead + ให้ Atropine
หัวใจเต้นเร็วเกินไป Tachyarrhythmia
เต้นเร็วมากกว่า 100 ครั้ง/นาที
Ventricular fibrillation
คือ
ภาวะหัวใจห้องล่างเต้นแผ่วระรัว
สาเหตุ
กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด หัวใจห้องล่างเต้นสั่นพลิ้วไม่แรงที่จะมี P และ PB
การพยาบาล
ทำ CPR + Defibrillation
Pulseless electrical activity
EKG ชนิดนี้บางครั้งมีหน้าตาปกติ
ให้สั่งเกตุอาการ Pt.
เช่น
ตาค้าง
หลับไป
คลำ P ไม่ได้
อาการแสดงดังกล่าวหมายถึง
หัวใจหยุดยังมีการส่งกระแสไฟฟ้าไปแต่ไม่มีประสิทธิภาพจึงทำให้ไม่เกิดP
การพยาบาล
ทำ CPR
ขั้นตอน
รีบเรียกทีมมาช่วย
ทำการกดนวดหน้าอก
ให้ยา Adrenaline ตามแผนการรักษา
หาสาเหตุของหัวใจหยุดเต้น
นางสาวคีตภัทร บุญขำ
เลขที่ 9 รหัส 62111301010