Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ที่มีความผิดปกติทางจิต - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ที่มีความผิดปกติทางจิต
มีความวิตกกังวลและความเครียดผิดปกติ
Adjustment Disorder
ไตร่ตรอง
ระบายปัญหา
ทำความเข้าใจปัญหา
หาสาเหตุ
Somatoform Disorder
Somatization/Hypochondria/Conversion
ฝึกผ่อนคลาย
เห็นใจ
รับฟัง
อธิบาย
โรควิตกกังวล
Obsessive-Compulsive disorder
Acute stress Disorder
Phobia disorder
เพื่อให้สามารถใช้ชีวิตประจำวันได้โดยไม่ตื่นกลัว
ให้ทางเลือกผู้ป่วย
ให้ความมั่นใจในความปลอดภัย
หลีกเลี่ยงการหาสาเหตุมาอธิบายและคาดคั้นให้ผู้ป่วยทำตาม
ให้ค่อยไปชนความกลัวทีละน้อย
Post Traumatic Stress disorder
Panic disorder
Deep breathing
Exposure
Relaxation
CBT
Generalized Anxiety Disorder
มีความผิดปกติด้านพฤติกรรม
Aggression/Hostility/Violence
ประเมินลักษณะภาวะโกรธเพื่อให้การช่วยเหลือในระยะเริ่มต้น
ให้ความรู้แก่ผู้ป่วยหรือผู้รับบริการ
ฝึกการกล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม
ประเมินผู้ที่เริ่มมีความโกรธและให้การช่วยเหลือทันที
ให้ความรู้แก่ชุมชนและสังคม
Suicidal/Self Destructive Behavior
ต้องมีผู้ดูแลใกล้ชิดตลอดเวลา 24 ชั่วโมง
เก็บสิ่งที่ผู้ป่วยตาใช้ทำร้ายตัวเอง เช่น มีด เชือก สารเคมี
ไม่ให้ผู้ป่วยอยู่คนเดียวลำพัง
รับฟังผู้ป่วยและให้โอกาสผู้ป่วยได้ระบายความรู้สึก
ร่วมกันพิจารณาพฤติกรรมการฆ่าตัวตายและความคิดจะกระทำซ้ำ
ส่งต่อนัดหมายและเยี่ยมบ้าน
มีความผิดปกติด้านบุคลิกภาพ
Antisocial personality
ส่งเสริมทักษะที่จำเป็นทางสังคม เช่น การวางแผนการใช้จ่าย การทำอาหาร
แนะแนวทางให้พัฒนาการแสดงความคิดเห็นต่อผู้อื่นและวิธีการที่เป็นที่ยอมรับในสังคม
การให้เรียนรู้จักแบบอย่างของพฤติกรรมที่กล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม
ส่งเสริมให้เลือกหาและทดลองใช้เทคนิคการแก้ปัญหาที่เป็นแก้ที่ต้นเหตุของปัญหา
ฝึกหรือจัดให้แสดงบทบาทสมมุติเกี่ยวกับทักษะที่เหมาะสมในการดำเนินชีวิต
แนะนำเทคนิคการใช้ต่างๆแล้วให้ผู้ป่วยเลือกวิธีที่เหมาะสมกับตนเอง
Borderline personality
กลุ่มอาการทางอารมณ์มากเกินไป
แสดงการยอมรับนับถือในความเป็นบุคคลของผู้ป่วย
ระวังพฤติกรรมรุนแรงโดยการสังเกตพฤติกรรมอย่างใกล้ชิดหาวิธีการลดหรือป้องกันพฤติกรรมที่เป็นอันตรายต่อตนเองและผู้อื่น
ตรวจสอบและจำกัดเครื่องใช้ที่ผู้ป่วยอาจนำมาเป็นอาวุธในการทำร้ายผู้อื่น
จัดเตรียมบุคลากรให้พร้อมสำหรับการแก้ไขปัญหาจากพฤติกรรมรุนแรงของผู้ป่วยในภาวะฉุกเฉิน
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับยาตามแผนการรักษา เพื่อลดความหงุดหงิด ความรู้สึกไม่เป็นมิตรและพฤติกรรมรุนแรง
จัดสภาพแวดล้อม คำนึงถึงสิทธิความเป็นบุคคล สิทธิผู้ป่วย ความเสมอภาคเพื่อส่งเสริมให้ผู้ป่วยได้เรียนรู้ถึงกฎเกณฑ์ทางสังคม
ฝึกทักษะการจัดการพฤติกรรมทางอารมณ์ที่มากเกินไป เช่น การบอกกล่าวถึงความต้องการของตนเองที่ชัดเจนอย่างตรงไปตรงมา
กลุ่มพฤติกรรมกังวลกลัว
ประวัติพฤติกรรมการทำร้ายตนเองโดยการพูดคุยซักถามและดูแลอย่างใกล้ชิด
แนะนำหรือให้ความรู้วิธีการจัดการกับปัญหาที่เกิดขึ้นเพื่อเป็นแนวทางให้ผู้ป่วยไปประยุกต์ใช้กับสถานการณ์ของตนเองได้
ส่งเสริมให้ผู้ป่วยเข้าร่วมกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะทางสังคมอย่างต่อเนื่อง
Dependence personality
ส่งเสริมทักษะที่จำเป็นทางสังคม เช่น การวางแผนการใช้จ่าย การทำอาหาร
แนะแนวทางให้พัฒนาการแสดงความคิดเห็นต่อผู้อื่นและวิธีการที่เป็นที่ยอมรับในสังคม
การให้เรียนรู้จักแบบอย่างของพฤติกรรมที่กล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม
ส่งเสริมให้เลือกหาและทดลองใช้เทคนิคการแก้ปัญหาที่เป็นแก้ที่ต้นเหตุของปัญหา
ฝึกหรือจัดให้แสดงบทบาทสมมุติเกี่ยวกับทักษะที่เหมาะสมในการดำเนินชีวิต
แนะนำเทคนิคการใช้ต่างๆแล้วให้ผู้ป่วยเลือกวิธีที่เหมาะสมกับตนเอง
มีความผิดปกติทางด้านความคิดและการรับรู้
โรคสมองเสื่อม (Dementia)
ปัญหาการนอนหลับ
ยาตามความจำเป็น
Aromatherapy
เลี่ยงคาเฟอีน
เพิ่มกิจกรรมช่วงกลางวัน
ฝึกการเข้านอน-ตื่นนอนให้ตรงเวลา
หาสาเหตุ
จัดสิ่งแวดล้อม
ปัญหาการเปลี่ยนแปลงอารมณ์และพฤติกรรม
ลดสิ่งกระตุ้น
ประเมินความเสี่ยง
เฝ้าระวัง
ให้ความรู้ผู้ดูแล
ปัญหาบกพร่องด้านการทำกิจวัตรประจำวัน
ดูแลสุขภาพอนามัย
คงสมดุลและความแข็งแรงร่างกาย
ส่งเสริมแรงทางบวก
กระตุ้นให้ผู้ป่วยทำด้วยตนเอง
ฝึกทักษะการดูแลตนเองของผู้ป่วย
ช่วยเหลือในการทำกิจวัตร
รวบรวมข้อมูล(ประเมิน)
ฟังเพลงกิจกรรมกับผู้ดูแล
ปัญหาความบกพร่องด้านการสื่อสาร
สอนทักษะการสื่อสารกับผู้ดูแล
ดนตรีบำบัด
สังเกตอวัจนภาษา
อดทน นุ่มนวล
ปัญหาความบกพร่องด้านความจำ
ฝึกการทำงานของสมอง
ใช้สิ่งแวดล้อมกระตุ้นความจำ
ส่งเสริมการระลึกความจำที่ดี
ยอมรับอาการหลงลืมของผู้ป่วย
ภาวะสับสนเฉียบพลัน (Delirium)
ดำรงความสมดุลของร่างกาย: ป้องกันภาวะแทรกซ้อน/อันตรายจากประสาทหลอน
การจัดสิ่งแวดล้อม: สงบ แสงเพียงพอ ผู้ดูแลคนเดิม
การป้องกัน: Fall อุบัติเหตุ สูญหาย
โรคจิตเภท
Hallucination
Present Reality
Illusion
Present Reality
Paranoid
ปรับตัว
Withdrawal
สร้างสัมพันธภาพ
Delusion
นำผู้ป่วยเข้าสู่โลกความจริง
มีความผิดปกติทางอารมณ์
โรคจิตซึมเศร้า (Depressive disorder)
Risk for suicide
ให้คำแนะนำแก่ญาติ
เข้ากลุ่มประคับประคอง
จัดให้ใกล้เคาน์เตอร์พยาบาล
ให้กำลังใจคือการคิดบวก
ประเมินระดับ
อดทนรับฟัง
ประเมินสาเหตุ
ประเมินอาการ
Hopelessness
ประเมินสิ่งยึดเหนี่ยว
ประเมินสาเหตุ
เปิดโอกาสให้ระบายความรู้สึก
ให้กําลังใจคนคิดบวก
Cognitive behavior therapy
โรคอารมณ์สองขั้ว (Bipolar)
Low self-esteem
ยาและดูแลผลข้างเคียงของยา
เสริมแรงทางบวกตามจริง
ประเมินการรับรู้
ฝึกคิดบวก
กระตุ้นให้มีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น
Ineffective individual coping
ประเมินความเครียดสาเหตุ
กระตุ้นให้มีสัมพันธภาพกับผู้อื่น
เปิดโอกาสให้ระบาย
ช่วยดูแลกิจวัตรประจําวัน