Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยระบบหัวใจและหลอดเลือด, นางสาว พรมณี สังวรกิจโสภณ…
การพยาบาลผู้ป่วยระบบหัวใจและหลอดเลือด
ภาวะหัวใจล้มเหลว
การรักษา
ลดการทำงานของหัวใจ
จำกัดกิจกรรม
ลดpreload
ลดAfter load
ลดการคั่งของน้ำและเกลือ
ขจัดสาเหตุส่งเสริม
เพิ่มปริมาณเลือดออกจากหัวใจ
แก้ไขสาเหตุโดยตรง
การพยาบาล
ให้O2
นั่งหรือนอนศีรษะสูง
ลดการใช้O2 นอนพักบนเตียง
ดูแลใก้ได้รับยากลุ่มไดจิตาลิส
ดูแลให้ได้รับยาเพิ่มความดันโลหิต และยายายหลอดเลือด
เฝ้าระวังอาการที่ผิดปกติ
ลดการคั่งของน้ำในร่างกาย
ปรระคคับประคองด้านจิตใจ ให้กำลังใจ
ให้ความรู้ในการปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันการเกิดอาการซ้ำๆ
อาการ
หัวใจห้องล่างซ้ายล้มเหลว
อ่อนเพลีย
Bp ลดลง
ปอดมีเสีนงcrepitation
สมองขาดออกซิเจน
นอนราบไม่ได้
เจ็บหน้าอก ผอม ผิวซีด/เขียว
หายใจหอบเนื่อย
หัวใจให้องล่างขวาล้มเหลว
ท้องมาน
หลอดเลือดดำที่คอโป่ง
ตับโต
จุกใต้ชายโครงขวาหรือลิ้นปี่
บวม
ชนิด
systolic heart failure
diastolic heart failure
Left ventricle และ Right ventricle failure
Acute & Chronic heart failure
โรคหลอดเลือดหัวใจเฉียบพลัน ACS
อาการ
เจ็บหน้าอกจากการที่หัวใจขาดเลือดไปเลี้ยง
การรักษา
การรักษาด้วยยาละลายลิ่มเลือด Stretokinase
หยุดยา Nitroglycerine ทุกชนิด
หมั่นสอบถามอาการเจ็บหน้าอก
เริ่มให้ยา Strretokinase ที่ผสมในสารน้ำ 100cc ด้วยinfusion pump อัตราการไหล 100ml/hr
ประเมินความรู้สึกตัวเป็นระยะ
ซักประวัติก่อนให้ยา ห้ามใช้ในผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับสมอง
ตรวจวันประเมิน v/s คลื่นหัวใจ ระดับO2sat ทุก5นาที ระหว่างที่ได้รับยา
PCI with Stent บอลลูนถ่างขยาย
นอนราบห้ามยกศีรษะ
ประเมิน 6p ทุก4ชม.
paresthesia
pallor
poikilothermia
pain
pulselessness
paresthesia
ประเมิน bleeding
ประเมินv/s
เฝ้าระวังภาวะไตวายเฉียบพลัน
Coronary Artery Bypass Graft:CABG
ปัจจัยเสี่ยง
กรรมพันธุ์
ความดันโลหิตสูง
ระดับไขมันในเลือด
เบาหวาน
อายุ
การสูบบุหรี่
เพศ
โรคอ้วน
Metabolic syndrome
ไม่ออกกำลังกาย
Shock
ช็อกจากการเสียเลือดและน้ำ (hypovolemic shock)
ความรุนแรงและการรักษา
ระดับที่ 2
เสียเลือด 750-1500มิลลิลิตร
Crystalloid
ระดับที่ 3
เสียเลือด 1500-2000มิลลิลิตร
Crystalloidและเลือด
ระดับที่ 1
เสียเลือด <750มิลลิลิตร
Crystalloid
ระดับที่ 4
เสียเลือด >2000มิลลิลิตร
Crystalloidและเลือด
ช็อกเกี่ยวกับหัวใจ (cardiogenic shock)
ทำให้หัวใจไม่สามารถบีบเลือดไปเลี้ยงส่วนต่างๆของร่างกายได้
สาเหตุ
การอุดกั้นการไหลของเลือด
ช่องลิ้นหัวใจเล็กกว่าปกติ รั่ว
การสูญเสียประสิทธิภาพในการทำงาน
กล้ามเนื้อหัวใจตาย
กล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ
กล้ามเนื้อหัวใจอ่อนแรง
ช็อกจากการกระจายของเลือด (distributive shock)
ช็อกจากระบบประสาท (nerogenic shock)
สาเหตุ
ได้รับยาทางไขสันหลัง
เครียด
การบาดเจ็บของไขสันหลัง
ปวดอย่างรุนแรง
ได้รับยาเกินขนาด
ได้รับยานอนหลับ
ภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ
ช็อกจากภูมิแพ้ (anaphylactic shock)
เป็นปฏิกิริยาของร่างกายต่อการแพ้ที่เกิดขึ้น อย่างเฉียบพลันมีสาเหตุจากการได้รับการกระตุ้น (sensitized) สารกระตุ้นที่เปรียบเสมือน antigen
อาการ
ผิวหนังมีผื่นแดงเป็นลมพิษ
หายใจลำบาก เสียงหายใจมี wheezing และมี cyanosis มีการบวมบริเวณกล่อง
ทำให้เสียงแหบ และหายใจมีเสียง stridor
ความดันโลหิตต่ำกระสับกระส่ายร่วมกับหัวใจเต้นเร็วและหายใจเร็วขึ้น
อาจมีอาการอาเจียน ท้องเสีย เป็นตะคริว ปวดท้อง
กลั้นปัสสาวะไม่ได้
การพยาบาล
ประเมินอาการเบื้องต้น
พิจารณาให้ Epinephrinne
ช็อกจากภาวะติดเชื้อ (septic shock)
สาเหตุ
ได้รับ endotoxin ของเชื้อ ทำให้มีหลอดเลือดขยาย ทำให้ความดันโลหิตลดลง
การเกิด septic shock
SIRS
มีอาการ2อย่างขึ้นไป
อัตราการเต้นของหัวใจ >90 ครั้ง/นาที
อัตราการหายใจ > 20 ครั้ง/นาที หรือ PaCO2 < 32
WBC> 12,000 เซลล์/ลบ.มม.
อุณหภูมิ >38 <36
Sepsis
SIRSร่วมกับมีร่องรอย
Septic Shock
ไม่ตอบสนองต่อการให้สารน้ำ Bp drop
นางสาว พรมณี สังวรกิจโสภณ 62111301055