Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
นายกฤษณะ ภุมรินทร์ 62111301004, สรุปการพยาบาลผู้ใหญ่ ระบบหัวใจและหลอดเลือ…
นายกฤษณะ ภุมรินทร์ 62111301004
สรุปการพยาบาลผู้ใหญ่
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
ภาวะหัวใจล้มเหลว(congestive heart failure)
หน้าที่ของหัวใจ
สูบฉีดโลหิตเพื่อนำออกซิเจนเเละ
อาหารไปยังทุกส่วนของร่างกาย
อัตราการเต้นของหัวใจประมาณ 60-100 ครั้ง/นาที
เกิดจากความผิดปกติของโครงสร้าง
การทำงานของหัวใจ ทำให้มีผลต่อ hemodynamic
สาเหตุและปัจจัยเสี่ยง
Abnormal loading condition
ภาวะที่หัวใจต้องรับภาระ
หนักอย่างผิดปกติ
Pressure load
Volume overload
Abnormal muscle function
ภาวะที่กล้ามเนื้อหัวใจทำหน้าที่ผิดปกติ
Cardiomyopathy
Limited ventricular filling
ความจำกัดในการคลาย
ตัวรับเลือดของ ventricle
Hypertrophic obstruction
cardiomyopathy
ความดันโลหิตสูง
ลิ้นหัวใจผิดปกติ(VDH)
หัวใจพิการเเต่กำเนิด
โรคเบาหวาน โรคอ้วน
sleep apnea
โลหิตจาง ติดเชื้อ ตั้งครรภ์
ชนิดของภาวะหัวใจล้มเหลว
หัวใจล้มเหลวในการบีบตัวเเละคลายตัว
หัวใจล้มเหลวข้างซ้ายเเละข้างขวา
หัวใจล้มเหลวเฉียบพลันเเละเรื้อรัง
อาการเเสดง
หัวใจล่างซ้ายล้มเหลว
หายใจหอบเหนื่อย จากการคั่งของเลือดเเละน้ำที่ปอด
นอนราบไม่ได้
การไอ เป็นอาการเด่นชัดที่บ่อย
อ่อนเพลีย จากการได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอ
ความดันโลหิตลดลง
สมองขาดออกซิเจน เจ็บหน้าอก ปัสสาวะลดลง
ผิวซีด จากการขาดเลือดไปเลี้ยง
หัวใจห้องล่างขวาล้มเหลว
บามตามส่วนต่างๆ
ตับโต จากการที่มีเลือดคั่งในหลอดเลือดในตับ
ท้องมาน
หลอดเลือดโป่งพอง
การรักษา
แก้ไขสาเหตุโดยตรงที่ทำให้เกิดภาวะหัวใจล้มเหลว เช่น หัวใจพิการแต่กำเนิดลิ้นหัวใจพิการ กล้ามเนืื้อหัวใจตาย โดยรักษาด้วยการผ่าตัดเพื่อแก้ไขสาเหตุนั้นๆเป็นต้น
ขจัดสาเหตุส่งเสริม เช่น ต่อมไธรอยด์เป็นพิษ โลหิตจาง การติดเชื้อ
ลดการทำงานของหัวใจลง
จำกัดกิจกรรมต่าง ๆ
ลด Preload หรือลดจำนวนเลือดที่ไหลกลับเข้าสู่หัวใจ
ให้ผู้ป่วยนั่งห้อยขาลงข้างเตียง หรือนอนบนเตียงในท่า Fowler’s position
ให้ยาขับปัสสาวะ เช่น Lasix ระวังโปตัสเซียมต่ำ แนะนำให้กินผลไม้ร่วมด้วย
การให้ยาขยายหลอดเลือดดำส่วนปลาย
ลดการคั่งของน้ำและเกลือ
เพิ่มปริมาณเลือดออกจากหัวใจ
ให้ยาเพิ่มแรงในการบีบตัวของหัวใจ เช่น ยากลุ่ม Digitalis (Digoxin, lanoxin)
ไม่ให้ยานี้เมื่ออัตราการเต้นของหัวใจน้อยกว่า 60 ครั้ง/นาที
ลดเเรงต้านทานของหลอดเลือดเเดงส่วนปลาย
ให้ยากลุ่ม Inotropic drug ที่มีฤทธิ์
เพิ่มเเรงบีบตัวของหัวใจโดยตรง
Dopamine
dobutamine
ยาต้านเบต้า
การพยาบาล
ลดความต้องการใช้ออกซิเจนของร่างกายให้หัวใจทำงานลดลง โดยให้นอนพักบนเตียง
ออกซิเจน
ให้นั่งหรือนอนศีรษะสูง
เพิ่มประสิทธิภาพในการบีบตัวของหัวใจ โดยดูแลผู้ป่วยให้รับยากลุ่มไดจิตาลิส ตามแผนการรักษา และระวังพิษของยา
ดูแลให้ไดรับยาเพิ่มความดันโลหิต ยาขยายหลอดเลือด ตามแผนการรักษาของแพทย์
เฝ้าระวังอาการที่ผิดปกติ โดยวัดสัญญาณชีพ การสังเกตอาการหอบเหนื่อย บวมตามร่างกายว่าเพิ่มขึ้นหรือลดลง ไม่ควรลดบวมด้วยการยกขาสูง การชั่งน้ำหนักทุกวัน การพยาบาล
ลดการคั่งของน้ำในร่างกาย
shock
ช็อกจากการติดเชื้อ
(Septic shock)
SIRS
T > 38° C , < 36° C หนาวสั่น
P >90 ครั้ง1/นาที
R > 20 ครั้ง/นาทีหรือ PaCO2 < 32
WBC> 12,000 เซลล์/ลบ.มม.หรือ น้อยกว่า 4000 เซลล์/ลบ.มม.
Sepsis
มีอาการ SIRS อย่างน้อย 2 อย่าง ร่วมกับ infection
Severe sepsis
มี sepsis ร่วมกับ อาการแสดงของ Organ Damage
Septic Shock
มี sepsis ร่วมกับมี BP drop ทั้งที่ได้รับสารน้ำชดเชยอย่างเพียงพอ
หลักการพยาบาล
ให้ high-flow oxygen เร็วที่สุด
ควบคุมภาวะเลือดออก (Hemorrhage Control) โดยกดบรเิวณบาดแผลที่มีเลือดออก
ให้นอนยกปลายเท้าสูง เพื่อเพิ่มการไหลเวยีนกลับของเลือดกลับเข้าสู่หัวใจมากขึ้น
ให้สารน้ำทดแทน ชนิดที่นิยมใช้ได้แก่ 0.9%Normal Saline Ringer’s lactate
ใช้ยา ในอาการรุนแรงหรือไม่ตอบสนองต่อการทดแทนด้วยสารน้ำ
ช็อกจากการเสียเลือดและน้ำ(hypovolemic shock)
อาการ
ชีพจรเร็ว เบา เหงื่อออก ตัวเย็น กระหายน้ำ ปากแห้ง
ผิวหนังเย็น ม่วง (cyanosis) ลาย (cutis marmorata)
ระดับความรุนแรง
ระดับที่ 2
เสียเลือด 750-1,500 ml , BP ปกติ
ให้สารน้ำทดแทน Crystalloid
ระดับที่ 3
เสียเลือด 1,500-2,000 ml , BP drop
ให้สารน้ำทดแทน Crystalloid + เลือด
ระดับที่ 1
เสียเลือด < 750 ml , BP ปกติ
ให้สารน้ำทดแทน Crystalloid
ระดับที่ 4
เสียเลือด >2,000 ml , BP drop
ให้สารน้ำทดแทน Crystalloid + เลือด
ช็อกจากการแพ้(Anaphylactic shock)
อาการ
ผิวหนังมีผื่นแดงเป็นลมพิษ หายใจลําบาก ความดันโลหิตต่ำ กระสับกระส่ายร่วมกับหัวใจเต้นเร็วและหายใจเร็วขึ้น
อาจมีอาการอาเจียน ท้องเสีย เป็นตะคริว ปวดท้อง ร่วมด้วย
หลักการพยาบาล
ขณะเกิด ให้ epinephrine ทันที
จัดท่านอนหงาย ให้ออกซิเจน
ให้ยาตามอาการ
EKG Arrhythmia และ cardiac arrest
ขั้นตอน CPR
รีบเรียกทีมมาช่วย
ทําการกดนวดหน้าอก
ให้ยา Adrenaline ตามแผนการรักษา
หาสาเหตุของหัวใจหยุดเต้น
หัวใจเต้นช้า(Bradycardia)
หัวใจเต้นช้า น้อยกวา่ 60 ครั้ง/นาทีร่วมกับมีอาการหน้ามืดเป็นลม หมดสติไปชั่วขณะแต่ยังคลําชีพจรได้
การพยาบาล
EKG 12 lead และ ให้Atropine
Ventricular fibrillation
EKG ชนิดนี้มักมีสาเหตุจากกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด
จึงไม่แรงพอที่จะมีชีพจร และความดันโลหิต
การพยาบาล
ทํา CPR ร่วมกับ Defibrillation
PEA (Pulseless electrical activity)
EKG ชนิดนี้พบในอาการแสดงของผู้ผิดปกติเช่น
ตาค้าง หมดสติเรียกไม่รู้ตัว คลําไม่พบชีพจร
การพยาบาล
ทํา CPR