Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ใหญ่ ระบบหัวใจและหลอดเลือด, สุภัสสร โสภณโภไคย เลขที่98…
การพยาบาลผู้ใหญ่ ระบบหัวใจและหลอดเลือด
Shock
Hypovolemic shock
สาเหตุ
ภายใน
เสียเลือดจากภายใน เช่น ตับม้ามแตก
ภายนอก
เสียเลือด Plasma น้ำออกจากร่างกายมากไป
Anaphylactic shock
อาการ
ผิวหนังมีผื่นคล้ายลมพิษ
หายใจลําบาก มีเสียงwheezing และมี Cyanosis
BP ต่ำท้องเสีย ใจเต้นเร็ว อาเจียน
Septic shock
สาเหตุ
ได้รับ endotoxin ของเชื้อได้แก่ Bacteria virus Protozoa
ทําให้ลอดเลือดขยายตัวทําให้BPลดลง
อาการ
SIRS CRITERIA +อวัยวะที่ติดเชื้อ
T >38°หรือ < 36°
PR >90ครั้ง /min
RR > 20 ครั้ง/min หรือPaCO2 < 32
WBC> 12,000 เซลล์/ลบ มม
< 4,000 เซลล์/ลบ มม
10% immature band forms
แนวทางการรักษา
ประเมินและเฝ้าระวังการตกเลือดภยใน และผ่าตัดห้ามเลือด
ให้ออกซิเจน เพื่อให้เนื้อเยื่อได้รับเพียงพอ
ใส่ท่อหายใจ
เปิดเส้นให้IV Fluid ทางหลอดเลือดดํา
ห้ามเลือดภายนอก
(classification of shock)
ช็อกจากการเสียเลือดและน้ำ (hypovolemic shock)
ช็อกเกี่ยวกับหัวใจ (cardiogenic shock)
ช็อกจากการกระจายของเลือด
ช็อกจากระบบประสาท (nerogenic shock)
ช็อกจากภูมิแพ้ (anaphylactic shock)
ช็อจากภาวะติดเชื้อ (septic shock)
EKG Arrhythmia และ cardiac arrest
Ventricular fibrillation
มักมีสาเหตุจากกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด หัวใจล่างขวาเต้นสั่นจึงไม่มีแรงพอที่จะมีPRและBP รูปร่างอาจมีหลากหลาย ต้องช่วยเหลือโดย CPR ร่ววมกับ Defibrillation
ผู้ป่วยหัวใจเต้นช้า (Bradycardia)
หัวใจเต้นช้า < 60 ครั้ง/min ร่วมกับอาหารหน้ามืด เป็นลม หมดสติชั่วขณะ แต่คลําPR ได้
การพยาบาลที่สําคัญคือEKG12leadและให้Atropine
PEA (Pulseless electrical activity)
บางครั้งเหมือนจะปกติ แต่อาจจะพบอาการผู้ป่วยผิดปกติ เช่น ตาค้าง หรือหมดสติ คลําPRไม่ได้คือหัวใจหยุดแต่มีการส่งกระแสไฟฟ้าแบบไม่มีประสิทธิภาพ พอให้เกิดPR ต้อง CPRด่วน
Cardiac Pacemaker
การพยาบาล PPM ใน 24 ชั่วโมงแรก
ติดตามการทํางานของเครื่องกระตุ้นหัวใจแบบชั่วคราว
ติดตามคลื่นไฟฟ้าหัวใจและจังหวะการเต้นของหัวใจอย่างต่อเนื่อง พร้อมกับการจับชีพจร
ประเมินสัญญาณชีพ
ประเมินอาการของภาวะเลือดออกจากหัวใจในหนี่งนาทีลดลง
ประเมินอาการลมรั่วหรือ มีเลือดในช่องเยื่อหุ้มปอด
การพยาบาลPPMใน7วันแรก
ช่วงแรกที่แผลยยังเปิดไม่สนิทจะปืดแผ่นกันน้ำ โดยห้ามแกะเองเด็ดขาด
รับประทานยาฆ่าเชื้อให้ครบตามแพทยสั่ง
งดใส่เสื้อสวมหัว(ใส่เสื้อแบบติดกระดุมหน้า)
การปฏิบัติตนเรื่องการใช้แขน
ใน 7วันแรก ไม่ให้ยกแขนด้านที่ใส่เครื่อง
โดยจะมีสายคล้องแขนไว้ตลอดเวลา
แขนแนบลำตัวไม่กางไหล่ จนมาเกินดแผลพบแพทยเ์มืออครบกําหนด 1 สัปดาห์
7วันถึง 1เดือน กางแขนระดับไหล
มากกว่า 1เดือน ยกเหนือไหล่ได้
การพยาบาลผู้ป่วยใส่เครื่องกระตุ้นหัวใจชนิด PPM(Permanent pacemaker)
ภาวะแทรกซ้อนที่พบบ่อย
หลอดเลือดได้รับความเสียหาย
มีเลือดออกหรือมีก้อนเลือดที่เกิดจากการมีเลือดออกและคั่ง อยูใ่ต้ผิวหนัง
มีอาการแพ้ยาที่ได้รับระหว่างการใส่เครื่อง
สายสื่อสัญญาณไฟฟ้าหลุดเลื่อนจากตำแหน่งเดิม
มีลมหรือเลือดในช่องเยื่อหุ้มปอด
เกิดลิ่มเลือดอุดตันทำให้เกิดภาวะหลอดเลือดในสมองตีบ
เสียชีวิต
การพยาบาลที่สำคัญ
ช่วง 1-2 สัปดาห์แรก ระวังแผลเปียกน้ำถ้าชีพเปลียนแปลงน้อยกว่าหรอมากกว่า 5-10ครั้ง/นาทีต้องรายงานแพทย์ ไม่ทําแผลทุกวัน
ไม่ควรกางแขนเกิน 90 องศา เป็นเวลา 4-6 สัปดาห์ สังเกตอาการที่ต้องพบแพทย์ทันที
ช่วยลดความวิตกกังวลและให้กำลังใจ
ระวังอันตรายจากกระแสไฟฟ้าอื่นๆที่มีความถี่สูง
Acute coronary syndrome
อาการ
CK-MB สูงขึ้น, TNT>0.1 , TNI>1.5
เจ็บหน้าอก ร้าวแขนข้างซ่าย เหงื่อแตก ใจสั่นวูบ
การพยาบาล
ลด chest pain
ให้ออกซิเจน
EKG 12 lead
เฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อน
SK,PCI,CABG
การดูแลตนเองเมื่อกลับบ้าน
การพยาบาลก่อนได้รับ Streptokiness
การซักก่อนประวัติให้ยาสําคัญมาก
ข้อห้าม
เคยเป็นอัมพาตจากหลอดเลือดสมอง
เคยเป็นเนื้องอกในสมอง
เคยได้รับการผ่าตัดใหญ่
เจ็บแปล็บอย่างรุนแรง ทะลุไปข้างหลัง
ข้อห้ามที่สามารถผ่อนผันได้
เคยได้รับ SK ในระยะ 2 ปีที่ผ่านมาหรือประวัติแพ้ SK
ตั้งครรภ์
เคยทํา CPR นานกว่า 10 นาทีหรอื บาดเจ็บจากาการทํา CPR
BP>180/110mmHg (วัดซ้ำ2ครั้ง )
มีปัญหาเลือดออกผิดปกติ
สุภัสสร โสภณโภไคย เลขที่98 (62111301101)