Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การนับศักราชตาม เหตุการณ์สำคัญทางศาสนาและการนับศักราชในประเทศไทย - Coggle…
การนับศักราชตาม
เหตุการณ์สำคัญทางศาสนาและการนับศักราชในประเทศไทย
การนับเวลา
การนับเวลาแบบไทย
เป็นวิธีที่ใช้กันมานาน
การนับยามกลางคืน
ยาม 1=21.00
ยาม 2=24.00
ยาม 3=3.00
ยาม 4=6.00
การบอกวัน เดือน ขึ้นแรม
ตัวเลขที่อยู่หน้าเครื่องหมาย (ฯ) คือ วันในสัปดาห์ โดยเริ่มนับจากวันอาทิตย์
• ตัวเลขที่อยู่หลังเครื่องหมาย (ฯ) คือ เดือนทางจันทรคติ
• ตัวเลขถ้าอยู่บนเครื่องหมาย (ฯ) คือ ข้างขึ้น ถ้าอยู่ล่าง คือ ข้างแรม
• วัน เดือน ขึ้นแรม ใช้ในการสังเกตน้าขึ้น–น้าลง และการคานวณทางโหราศาสตร์
การนับปีนักษัตร
ชวด
ฉลู
ขาล
เถาะ
มะโรง
มะเส็ง
มะเมีย
มะแม
วอก
ระกา
จอ
กุน
รอบปีนักษัตร 1 รอบ มี 12 ปี แต่ละปีมีชื่อเรียกและรูปสัตว์ประจาปีเริ่มต้นนับจากปีชวด เมื่อเรียกครบ 12 ปีแล้วก็จะเริ่มนับรอบใหม่
การนับเวลาในรอบวัน
กลางคืน
2ยาม=24.00
ตี 3=3.00
ตี 2=2.00
ตี 1=1.00
5 ทุ่ม=23.00
4 ทุ่ม=22.00
3 ทุ่ม=21.00
2 ทุ่ม=20.00
1 ทุ่ม=19.00
ตี 4=4.00
ตี 5=5.00
ย่าค่า=18.00
การเทียบศักราช
ร.ศ. + 2324 = พ.ศ. พ.ศ. – 2324 = ร.ศ.
ม.ศ. + 621 = พ.ศ. พ.ศ. – 621 = ม.ศ
จ.ศ. + 1181 = พ.ศ. พ.ศ. – 1181 = จ.ศ.
ค.ศ. + 543 = พ.ศ. พ.ศ. – 543 = ค.ศ.
ฮ.ศ. + 1122 = พ.ศ. พ.ศ. – 1122 = ฮ.ศ.
ศักราช
คริสต์ศักราช (ค.ศ.)
ศักราชที่คริสต์ศาสนิกชนก าหนดขึ้น โดยเริ่มนับจากวันสมภพของพระเยซู
คริสต์ศักราชเริ่มปีใหม่วันที่ 1 มกราคม และสิ้นปีวันที่31 ธันวาคม เป็นศักราชสากลที่ใช้ทั่วโลก
รัตนโกสินทรศก (ร.ศ.)
ผู้ก่อตั้ง คือ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 5)
โดยให้นับปีที่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช
(รัชกาลที่ 1) สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์เป็น ร.ศ. 1 และเริ่มใช้ใน
ราชการตั้งแต่ 1 เมษายน ร.ศ. 108 (พ.ศ. 2432) โดยให้นับเมษายน
เป็นเดือนแรกของปี ต่อมา ร.ศ. 131 (ตรงกับ พ.ศ. 2455)
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 6) ทรงประกาศ
เลิกใช้ โดยเปลี่ยนเป็นพุทธศักราชแทน แต่ยังคงวันปีใหม่ คือ 1
เมษายน เหมือนเดิม
พุทธศักราช (พ.ศ.)
แบบไทย (นับปีเต็ม) โดยเริ่มนับปีถัดจากปีที่พระพุทธเจ้าเสด็จดับขันธปรินิพพานไปแล้ว 1 ปี เป็น พ.ศ. 1
แบบลังกา เป็นการนับแบบปีย่าง โดยนับปีทีพระพุทธเจ้าเสด็จดับขันธปรินิพพานเป็น พ.ศ. 1
ฮิจเราะห์ศักราช (ฮ.ศ.)
ศักราชของผู้ที่นับถือศาสนาอิสลาม นับตั้งแต่นบีมุฮัมมัด
(ศาสดา) อพยพชาวมุสลิมออกจากนครมักกะฮ์ไปยังเมืองมะดีนะฮ์
ใน ค.ศ. 622 ตรงกับ พ.ศ. 1165
คำว่า ฮิจเราะห์ มาจากภาษาอาหรับ แปลว่า การอพยพ
มหาศักราช (ม.ศ.)
ผู้ก่อตั้ง คือ พระเจ้ากนิษกะ (Kanishka) กษัตริย์ของพวกกุษาณะ (Kushana) ชนชาติที่ครอบครองดินแดนอินเดียทางตะวันตกเฉียงเหนือ
ไทยรับมหาศักราชมาจากเขมรซึ่งรับมาจากอินเดียอีกทอดหนึ่งใช้ในการคำนวณทางโหราศาสตร์ ระบุเวลาในจารึกและตำนานที่ทำขึ้นก่อนสมัยสุโขทัยและสมัยสุโขทัย
จุลศักราช (จ.ศ.)
คาดว่าผู้ก่อตั้ง คือ พระเจ้าบุพพะโสระหัน กษัตริย์พม่า ไทยใช้จุลศักราช
ในการคำนวณทางโหราศาสตร์ ใช้บอกปีในจารึก จดหมายเหตุ
ตำนาน พระราชพงศาวดาร และเอกสารราชการ และเลิกใช้ในสมัย
รัชกาลที่ 5 โดยใช้รัตนโกสินทรศกแทน