Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ใหญ่ ระบบหัวใจและหลอดเลือด - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ใหญ่
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
Cardiac Pacemaker
การพยาบาล PPM ใน 7 วันแรก
รับประทานยาฆ่าเชื ้อให้ครบตามแพทย์สั่ง
งดใส่เสื้อสวมหัว (ใส่เสื ้อแบบติดกระดุมหน้า)
ช่วงแรกที่แผลยังปิดไม่สนิทจะปิดแผ่นกันน้า โดยห้ามแกะเองเด็ดขาด
การปฏิบัติตนเรื่องการใช้แขน
ใน 7วันแรก ไม่ให้ยกแขนด้านที่ใส่เครื่อง โดยจะมีสายคล้องแขนไว้ตลอดเวลา
แขนแนบล ตัวไม่กางไหล่ จนมาเปิดแผลพบแพทย์เมื่อครบกำหนด 1 สัปดาห์
7วัน ถึง 1เดือน กางแขนระดับไหล่
มากกว่า 1เดือน ยกเหนือไหล่ได้
การพยาบาล PPM ใน 24 ชั่วโมงแรก
ติดตามการทำงานของเครื่องกระตุ้นหัวใจแบบชั่วคราว
ติดตามคลื่นไฟฟ้ าหัวใจและจังหวะการเต้นของหัวใจอย่างต่อเนื่อง พร้อมกับการจับชีพจร
ประเมินสัญญาณชีพ
ประเมินอาการของภาวะเลือดออกจากหัวใจในหนึ่งนาทีลดลง
ประเมินอาการลมรั่วหรือมีเลือดในช่องเยื่อหุ้มปอด
การพยาบาลผู้ป่วยใส่เครื่องกระตุ้นหัวใจชนิด PPM(Permanent pacemaker)
ภาวะแทรกซ้อนที่พบบ่อย
มีเลือดออกหรือมีก้อนเลือดที่เกิดจากการมีเลือดออกและคั่งอยู่ใต้ผิวหนัง
มีอาการแพ้ยาที่ได้รับระหว่างการใส่เครื่อง
หลอดเลือดได้รับความเสียหาย
สายสื่อสัญญาณไฟฟ้ าหลุดเลื่อนจากต าแหน่งเดิม
มีลมหรือเลือดในช่องเยื่อหุ้มปอด
เกิดลิ่มเลือดอุดตันท าให้เกิดภาวะหลอดเลือดในสมองตีบ
เสียชีวิต
การพยาบาลที่สำคัญ
ถ้าขีพเปลียนแปลงน้อยกวา่ หรอืมากกวา่ 5-10ครัง/นาทีต้องรายงานแพทย์
ไม่ทําแผลทุกวัน
ช่วง 1-2 สัปดาห์แรก ระวังแผลเปียกน้ำ
ไม่ควรกางแขนเกิน 90 องศา เป็น 4-6 สัปดาห์
สังเกตอาการที่ต้องพบแพทย์ทันที
ช่วยลดความวิตกกังวลและให้กำลังใจ
ระวังอันตรายจากกระแสไฟฟเาอื่นๆที่มีความถี่สูง
shock
Septic shock
สาเหตุ
ได้รับ endotoxin ของเชื้อ ได้แก่ แบคทีเรีย เชิ้รา ไวรสั และโพรโทซัว
ทําให้มีหลอดเลือดขยาย ความดันโลหติลดลง
อาการ
อัตราการเต้นของหัวใจ >90 ครั้ง/นาที
อัตราการหายใจ > 20 ครั้ง/นาที หรือ PaCO2 < 32
WBC> 12,000 เซลล์/ลบ.มม.หรือ < 4,000 เซลล์/ลบ.มม.
หรือ > 10% immature band forms
อุณหภูฒื >38 หรือ < 36 หนาวสั่น
(classification of shock)
ช็อกจากการเสียเลือดและน ้า (hypovolemic shock)
ช็อกเกี่ยวกับหัวใจ (cardiogenic shock)
ช็อกจากการกระจายของเลือด
ช็อกจากระบบประสาท (nerogenic shock)
ช็อกจากภูมิแพ้ (anaphylactic shock)
3.3 ช็อกจากภาวะติดเชื้อ (septic shock)
แนวทางการรักษา
จัดการทางเดินหายใจ : ใส่ท่อหายใจ
ช่วยหายใจ ให้ ออกซิเจน เครื่องช่วยหายใจ เพื่อให้เนื้อเยื่อได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ
เปิดเส้นให้สารน้ำทางหลอดเลือดำ ด้วยเข็ม เบอร์ 16,18 เพื่อเพิ่ม
ห้ามเลือดภายนอก
การประเมินและเฝ้าระวังภาวะตกเลือดภายในและทำการผ่าตัดห้ามเลือดอย่างเร่งด่วน
ช็อกจากการเสียน้ำและเลือด
สาเหตุ
ภายนอก
เสียเลือด
เสียพลาสมา
เสียน้ำออกจากร่างกาย
ภายใน
เสียเลือดภายใน เช่น ตับ ้มามแตก
เสียนเำเข้าไปในลำไส้
การแบ่งระดับความรุนแรงของ Hypovolemic shock
และการรกัษา
Anaphylactic shock
อาการแสดง
ผิวหนังมีผื่นแดงเป็นลมพิษ
หายใจลำบาก เสียงหายใจมี wheezing และมี cyanosis มีการบวมบริเวณกล่อง
เสียง ทำให้เสียงแหบ และหายใจมีเสียง stridor
ความดันโลหิตต่ำ กระสับกระส่ายร่วมกับหัวใจเต้นเร็วและหายใจเร็วขึ้น
อาจมีอาการอาเจียน ท้องเสีย เป็นตะคริว ปวดท้อง
กลั้นปัสสาวะไม่ได้ เลือดออกทางช่องคลอด
EKG Arrhythmia และ cadiac arrest
การฟื้นคืนชีพ (CPR)
รีบเรียกทีมมาช่วย
ทำการกดตรงหน้าอก
3.3.ให้ยา Adrenaline ตามแผนการรักษา
4.หาสาเหตุของหัวใจหยุดเต้น
ผู้ป่วยหวัใจเต้นช้า(Bradycardia)
หัวใจเต้นช้ากว่า 60 ครงั) / นาทีรว่มกับมีอาการหน้ามืด
หมดสติไปชั่วขณะ แต่ยงัคลําชพีจรได้
การรักษาและการพยาบาลที่สำคัญ คือ EKG 12 lead และให้ Atropine
VF
EKG ชนิดนี ้มักมีสาเหตุจากกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด หัวใจห้องล่างเต้น สั่นพลิ้ว จึงไม่แรงพอที่จะมีชีพจร และความดันโลหิต อาจมีรูปร่างหลากหลายต้องให้การช่วยเหลือโดยการทำ CPR ร่วมกับ Defibrillation
PEA
EKG ชนิดน้ีบางครงั้มหี น้าตาเหมอืนปกติแต่จะพบอาการแสดงของผู้ป่วย ยทผิดปกติเช่น ตาค้าง หรือหลับไป หมดสติเรียกไม่รู้ตัว คลำไม่พบชีพจร ซึ่งหมายถึง หัวใจหยุดยังมีการ สง่ กระแสไฟฟ้าแต่ไมม่ ปีระสทิธภิาพพอใหเ้กดิชพีจร
Valvular heart disease
อาการ
เหน็ดเหนื่อย
เสี่ยงจ่อการเกิดลิ่มเลือด
หัวใจเต้นผิดจังหวะ
หลักการพยาบาลที่สําคัญ
ป้องกันลิ่ม เลือดหวัใจติดเชื้อ
สังเกตการอาการนำ้เกิน
หลักเลี่ยงที่แออัด
ตรวจฟันทุก 6 เดือน
ทานยาต้านการแข็งเลือดต่อเนือง
สังเกตอาการเลือดออกง่าย
ติดตาม INR Keep 2-4
หลักอาหาร vit k สูง
ห้ามทานยา 2 เท่า
เมื่อลืมกินยาไม่เกิน 12 ชั่วโมง ให้กินยาทันที
Acute coronary syndrome
อาการ
CK-MB สูงข)ึน, TNT>0.1 , TNI>1.5
เจ็บหน้าอก ร้าวแขนข้างซ่าย เหงื่อแตก ใจสั่นวูบ
การพยาบาล
ลด chest pain
ให้ออกซิเจน
EKG 12 lead
เฝ้าระวงัภาวะแทรกซ้อน
SK,PCI,CABG
การปรับตัว/การดูแลตนเองเมื่อกลับบ้าน
การพยาบาลก่อนได้รับ Streptokiness
การซักก่อนประวัติให้ยาสำคัญมาก
ข้อห้าม
เคยเป็นอัมพาตจากหลอดเลือดสมอง
เคยเป็นเนื้องอกในสมอง
เคยได้รับการผ่าตัดใหญ่
เจ็บแปล็บอย่างรุนแรง ทะลุไปข้างหลัง
ข้อห้ามที่ผ่อนผันได้
เคยได้รับ SK ในระยะ 2 ปีที่่ผ่านมาหรือประวัติแพ้ SK
ตั้งครรภ์
เคยทำ CPR นานกว่า 10 นาทีหรือบาดเจ็บจากากรทำ CPR
BP>180/110mmHg (วัดซ้ำ 2ครั้ง)
มีปัญหาเลือดออกผิดปกติ