Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การประเมินระบบหัวใจและทรวงอก - Coggle Diagram
การประเมินระบบหัวใจและทรวงอก
การซักประวัติ
อาการสำคัญ : Dyspnea, Hypoxemia, Palpitations,
Chest pain, Syncope, Pitting Edema
ประวัติความเจ็บป่วยปัจจุบัน ควรซักถามเกี่ยวกับอาการที่
เกิดขึ้นทุกอาการ ลักษณะของอาการ ความถี่ของการเกิด
ประวัติการเจ็บป่วยในอดีตที่เกี่ยวข้องหรือ
สัมพันธ์กับระบบหัวใจและหลอดเลือด
ข้อมูลทั่วไป ได้แก่ อายุ โรคประจำตัว ปัจจัยเสี่ยง เป็นต้น
ประวัติส่วนตัว เช่น อาชีพ การสูบบุหรี่ เป็นต้น
การตรวจร่างกายระบบหัวใจ
สถานที่ตรวจควรมิดชิด
ขั้นตอนในการตรวจควรประกอบด้วย
การดู
ดูอาการซีด หรือโลหิตจางโดยตรวจที่ conjunctiva
ดูลักษณะการหายใจของผู้ป่วย อัตราการหายใจ
เป็นการดูลักษณะทั่ว ๆไปของผู้ป่วย ว่าเป็นผู้ที่มีสุขภาพแข็งแรง
ดูลักษณะเขียว ว่าผู้ป่วยมีลักษณะเขียวหรือ เล็บปุ้มหรือไม่
การดูหลอดเลือดดำที่คอ เลือดที่ใช้ดู คือ internal jugular vein
การดูลักษณะทรวงอก และยอดการเต้นของหัวใจ
การดูการไหลเวียนของเลือดที่ส่วนปลาย (Capilary refill time)
อาการบวมกดบุ๋ม (Pitting Edema)
1+ กดบุ๋มลงไป 2 มม. มองไม่เห็นชัดเจน รอยบุ๋มหายไปเร็ว
2+ กดบุ๋มลงไป 4 มม. สังกตได้ยาก หายไปใน 15 วินาที
3+ กดบุ๋มลงไป 6 มม. สังเกตได้ซัด คงอยู่นานหลายนาที
4+ กดบุ๋มลงไป 8 มม. รอยบุ๋มลึกชัดเจน อยู่นานประมาณ 2-5 นาที
ตรวจการเต้นของเส้นเลือดดำ Jugular vein พบในผู้ป่วยโรคหัวใจล้มเหลว ความสูงของ
ระดับเส้นเลือดขึ้นอยู่กับความรุนแรงของโรค
การวัด CVP
การคลำ
การคลำชีพจรของผู้ป่วย ตรวจดูความแรง เบา ความเร็ว ช้า ความสม่ำเสมอ
คลำชีพจรแขนขาพร้อมกันยกเว้นชีพจรที่คอ Carotid ห้ามทำพร้อมกัน
การคลำยอดของหัวใจ
การคลำ heave/ lift
การคลำ thrill
การเคาะ
ในปัจจุบันการเคาะเพื่อการประเมินและการตรวจหัวใจไม่เป็นที่นิยม
การตรวจชีพจร
อัตราการเต้นของหัวใจ จังหวะ จำนวนครั้งลักษณะของชีพจร
เป็นต้น ในการจับชีพจรควรจับให้ครบทุก 1 นาที
การตรวจชีพจรหลอดเลือดส่วนปลายเปรียบเทียบความแรงทั้ง 2 ข้างแบ่งเป็น 4 ระดับคือ
0 คลำไม่ได้เลย
1 เบามาก
2 เบา
3 เล็กน้อย
4 แรงปกติ
ตำแหน่งชีพจร
Temporal
Carotid
Brachial
Radial
Femoral
Popliteal
Dorsalis pedis
Apical pulse ฟังที่ยอดหัวใจ (Apex)
การวัดความดันโลหิต
การตรวจหัวใจด้วยวิธีการดู
การดูPulsation/ Thrill เป็นการดูการเต้นของชีพจรบริเวณ
หน้าอก แต่ละลิ้น ได้แก่ AVA PVA TVA MVA
การดู Heave จะเห็นการยกตัวขึ้นของผนัง ทรวงอกที่บริเวณหัวใจ เป็นแรงกระเพื่อม จะพบในกรณีที่หัวใจทำงานหนักหรือหัวใจโต ในคนปกติจะไม่พบ Heave
การตรวจหัวใจโดยการคลำ
อาจทำได้ในท่านั่งหรือนอน นิยมตรวจในท่านอนหงาย ผู้ตรวจใช้มือคลำหา Apex beat
(apical impulse) โดยวางฝ่ามือลงบนทรวงอกด้านซ้าย คนปกติจะอยู่ที่ช่องซี่โครงที่ 5
ตัดกับ midclavicular line ซ้ายจะมีขนาด ไม่เกิน 2 ตารางเซนติเมตร
การฟังเสียงหัวใจ
การฟังนิยมฟังบริเวณลิ้นของหัวใจ ซึ่งเสียงของ aortic valve ฟังได้ซัดที่ขอบขวาของ sternum ตรงช่องซี่โครงที่ 2 pulmonic valve
การฟังหัวใจอาจตรวจในท่านอนหงาย
นอนตะแคงซ้ายและท่านั่งครั้งแรกจะฟังเสียง
เสียง S1 (First sound heart) เป็นเสียงที่เกิดจากการปิดของMitral valve และ Tricuspid valve จะได้ยินเสียงต่ำ
เสียง S2 (Second sound heart) เป็น เสียงที่เกิดจากการปิดของ Pulmonary valve และ Aortic valve จะได้ยินเสียงสูงกว่าเสียงแรก (Duff)
การฟังเสียง Murmur
หรือเสียงฟู่ คือ เสียงที่เกิดจากความปั่นป่วนของกระแสเลือด ที่ต้องวิ่งผ่านรู แคบ
Systolic murmur เป็นเสียงที่เกิด ระหว่าง S1 และ S2
Diastolic murmur เป็นเสียงที่เกิด ระหว่าง S2 และ S1
Continuous murmur เป็นเสียงที่ได้ยิน
ทั้งใน Systole และDiastole
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
และตรวจพิเศษ
CBC
Cardiac enzyme
Creatinine Kinase (CK)
Creatinine Kin ase-myocardial band (CK-MB)
Lactic dehydrogenase (LDH)
Serum protein troponin T,I
การตรวจพิเศษอื่นๆ
การตรวจสมรรถภาพหัวใจด้วย
การออกก าลัง (Exercise stress test)
การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
(Electro cardiogram: EKG)
การตรวจหัวใจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง
(Echocardiography)