Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ใหญ่ระบบหัวใจและหลอดเลือด, นางศิริธร ยุทธพงษ์ธาดา เลขที่ 82…
การพยาบาลผู้ใหญ่ระบบหัวใจและหลอดเลือด
ภาวะหัวใจล้มเหลว (congestive heart failure)
พยาธิสภาพ
กล้ามเนื้อหัวใจห้องล่างอ่อนแรงทำให้ไม่สามารถรับเลือดจากร่างกายเข้าสู่หัวใจและบีบเลือดไปเลี้ยงร่างกายได้เพียงพอ
มีความผิดปกติทำให้เกิดการเพิ่มอัตราการเต้นของหัวใจ ทำให้เวลาในการรับเลือดน้อยลง
การเพิ่มของปริมาตรเลือดที่หัวใจบีบออกจากหัวใจแต่ละครั้ง
การหดตัวของหลอดเลือดแดง
การเพิ่มแรงบีบตัวของกล้ามเนื้อหัวใจ
การคั่งของน้ำและเกลือในร่างกาย
ภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขยายโตขึ้น โดยเฉพาะห้องหัวใจล่างซ้าย (LVH)มักมีกล้ามเนื้อหนา และแข็ง
สาเหตุ
โรคหลอดเลือดหัวใจ
หัวใจทำงานหนักเกินไป
กล้ามเนื้อหัวใจมีการทำหน้าที่ผิดซึ่งอาจเป็นผลมาจากระบบไฟฟ้าหัวใจหรือความผิดปกติของกล้ามเนื้อและโครงสร้าง
ความผิดปกติของห้องหัวใจล่างซ้าย
โรคร่วมเรื้อรังอื่น ๆ เช่น MI, HT, DM, COPDฯลฯ
โรคที่เกิดจากความผิดปกติของลิ้นหัวใจ ติดเชื้อที่ลิ้นหัวใจ หรือลิ้นหัวใจถูกทำลาย
โรคเกี่ยวกับกล้ามเนื้อหัวใจ
หัวใจเต้นผิดปกติ (Arrythmia)
ความผิดปกติของหัวใจ เช่น Cardiomyopath
สารพิษต่าง ๆ เช่น สารเสพติด
โรคเกี่ยวกับปอด
หยุดหายใจขณะหลับ (Sleep apnea)
อาการ
ซีด เขียวคล้ำ(Cyanosis) จากการไหลเวียนของเลือดไปเลี้ยงอวัยวะส่วนปลายไม่ดี
บวมจากความดันเลือดส่วนปลายเพิ่มขึ้น
ความทนต่อการทำกิจกรรมลดลง เหนื่อยง่าย
มึนศีรษะ วิงเวียน สับสน
คลื่นไส้ เบื่ออาหาร ท้องบวมน้ำ ตับโต
หายใจเหนื่อยกลางคืนนอนราบไม่ได้
ปัสสาวะน้อยลง
หลอดเลือดที่คอโป่ง
ชนิดของภาวะหัวใจล้มเหลว
ภาวะหัวใจล้มเหลวในการบีบตัวและหัวใจล้มเหลวในการคลายตัว
systolic heart failure :หัวใจห้องล่างไม่สามารถบีบตัวส่งเลือดไปเลี้ยงเนื้อเยื่อต่างๆได้เพียงพอ
Diastolic heart failure :หัวใจห้องล่างซ้ายไม่สามารถคลายตัวได้เต็มที่ทำให้เลือดที่เข้าสู้หัวใจห้องล่างซ้ายมีจำนวนน้อยส่งผลให้ cardiac output
ภาวะหัวใจล้มเหลวข้างซ้ายและขวา
หัวใจห้องซ้ายล้มเหลว
เวนตริเคิลวายด้านซ้าย มีผลทำให้เวนตริเคิลซ้ายไม่สามารถบีบเลือดออกมาเลี้ยงร่างกายได้เต็มที่จึงทำให้เลือดคั่งที่ปอดเกิดน้ำท่วมปอด
หัวใจห้องขวาล้มเหลว
เวนตริเคิลขวาไม่สามารถส่งเลือดไปฟอกที่ปอดได้ทำให้มีเลือดดำคั่งในระบบไหลเวียน
ภาวะหัวใจวายเฉียบพลัน
ภาวะหัวใจล้มเหลวที่เกิดจากปริมาตรเลือดที่ออกจากหัวใจลดลงทันทีทันใด
เนื้อเยื่อได้รับเลือดไปเลี้ยงลดลงอย่างรวดเร็ว
เนื้อเยื่อได้รับเลือดไปเลี้ยงลดลงอย่างรวดเร็วหัวใจล้มเหลว
เริ่มมีกลไกการปรับตัว จึงยังไม่มีการคั่งของน้ำและโซเดียม
ภาวะหัวใจวายเรื้อรัง
ภาวะหัวใจล้มเหลวที่เกิดจากการที่ร่างกายปรับตัวต่อปริมาตรเลือดที่ออกจากหัวใจลดลง
ทำให้เกิดอาการแสดงที่เป็นผลมาจากกลไกการปรับตัวเช่น มีการคั่งของน้ำในร่างกาย
การวินิจฉัย
การตรวจเลือด
การตรวจร่างกาย
Chest X-ray
Echocardiography
Electrocardiography
การรักษาภาวะหัวใจวาย
NYHA
แบ่งเป็น 4 ระดับ Class I, II, III, IV
ACC/AHA
แบ่งเป็น 4 ระดับ A, B, C และ D
เพิ่มความสามารถในการบีบตัวของหัวใจห้องล่าง เพื่อเพิ่มปริมาตรเลือดที่หัวใจบีบออกจากหัวใจแต่ละครั้ง และแก้ไขปัญหาของอวัยวะเป้าหมายที่เกี่ยวข้องได้แก่ ไต เพื่อลดการคั่งของเลือด
การพยาบาล
ประเมิน V/S ทุก 1 ชั่วโมง
ช่วยเหลือทำกิจกรรมให้ผู้ป่วยในระยะที่ ผู้ป่วยมีอาการเหนื่อย
จัดท่านั่งศีรษะสูง 30-90 องศา
ดูแลให้ได้รับยาตามแผนการรักษา
ชั่งนํ้าหนักผู้ป่วยทุกวันในเวลาเดิม
จํากัดนํ้าในแต่ละวันตามแนวทางการรักษา
Cardiac Pacemaker
เป็นเครื่องมือทางไฟฟ้าที่ประดิษฐ์ขึ้นเพื่อปล่อย กระแสไฟฟ้าไปกระตุ้นหัวใจตามที่ก าหนด เพื่อให้เกิดจังหวะการเต้น ของหัวใจที่ทำให้มีปริมาณเลือดออกจากหัวใจต่อนาที (Cardiac output) เพียงพอ
Cardiac Pacemaker/Artificial Pacemaker มี 2 ชนิด
เครื่องกำหนดจังหวะการเต้นของหัวใจชนิดชั่วคราว (Temporary pacemaker)
ครื่องกำหนดจังหวะการเต้นของหัวใจชนิดถาวร (Permanent pacemaker)
การใส่เครื่องกำหนดจังหวะการเต้นของหัวใจ
การพยาบาล PPM ใน 24 ชั่วโมงแรก
ติดตามคลื่นไฟฟ้าหัวใจและความดันโลหิตอย่างต่อเนื่อง ถ้ามีคลื่นไฟฟ้าหัวใจผิดปกติ ต้องรายงานแพทย์
บันทึกลักษณะการ กระตุ้นของเครื่อง อัตราเร็วของการกระตุ้น ความไว ปริมาณ กระแสไฟฟ้าที่ใช้กระตุ้น
บันทึกคลื่นไฟฟ้าหัวใจเพื่อบันทึกจังหวะการเต้นของหัวใจ
ประเมินสัญญาณชีพ วัดความดันโลหิต ชีพจร อัตราการหายใจทุก 1ชั่วโมง
ติดตามภาวะหัวใจวาย และ Pneumothorax
การพยาบาล PPM ใน 7 วันแรก
รับประทานยาฆ่าเชื้อตามแพทย์วั่ง
ใน 7วันแรก ไม่ให้ยกแขนด้านที่ใส่เครื่อง
7วัน ถึง 1เดือน กางแขนระดับไหล่
มากกว่า 1เดือน ยกเหนือไหล่ได้
งดใส่เสื้อสวมหัว (ใส่เสื้อแบบติดกระดุมหน้า)
ช่วงแรกที่แผลยังปิดไม่สนิท จะปิดแผ่นกันน้ำ โดยห้ามแกะเองเด็ดขาด
หากมีอาการผิดปกติ เช่น ใจสั่น หน้ามืดเป็ นลม เหนื่อยหอบผิดปกติ สะอึก ตลอดเวลา ควรรีบแจ้งแพทย์ พยาบาล
ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ Cardiac arrest
ขั้นตอน CPR
รีบเรียกทีมมาช่วย
ทำการกดนวดหน้าอก
ให้ยา Adrenaline ตามแผนการรักษา
4.หาสาเหตุของหัวใจหยุดเต้น
การแปลผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจ (ECG Interpretation)
ประเภทของหัวใจเต้นผิดจังหวะ
ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะชนิดเต้นเร็ว (tachy arrhythmia)
Pulse Ventricular tachycardia
Atrial flutter
Sinus tachycardia
Atrial fibrillation
Paroxysmal supraventricular tachycardia: pSVT
ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะชนิดเต้นช้า (brady arrhythmia)
Sinus bradycardia
First degree AV block
Second degree AV block type I (wenckebarch block)
Second degree AV block type II
Third degree AV block
ภาวะหัวใจหยุดเต้น
ภาวะหัวใจหยุดเต้ น (Asystole หรื อ cardiac standstill)
Pulseless Electrical Activity (PEA)
Ventricular fibrillation (VF)
Ventricular tachycardia (VT)
การรักษา
ให้การรช่วยชีวิตอย่างมีประสิทธิภาพ
ให้ยาตามมาตรฐาน
การทำdefibrillation
ภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน (Acute coronary syndrome)
กลุ่มอาการโรคหัวใจขาดเลือดที่เกิดขึ้นเฉียบพลันอาการที่สำคัญคือ เจ็บเค้นอกรุนแรงเฉียบพลัน หรือเจ็บขณะพัก (Rest angina) นานกว่า 20 นาทีหรือ เจ็บเค้นอกซึ่งเกิดขึ้นใหม่ หรือรุนแรงขึ้นกว่าเดิม
ประเภท
ST elevation acute coronary syndrome
การรักษา
ควรพิจารณาให้การรักษาด้วยยา heparin และ ยาบรรเทา อาการเจ็บเค้นอก
ในผู้ป่วยที่มีประวัติได้ยา sildenafil ใน 24 ชั่วโมงก่อนมา
Non ST elevation acute coronary syndrome
ติดตามการเปลี่ยนแปลงของอาการทางคลินิกและคลื่น ไฟฟ้าหัวใจเป็นระยะ
ภาวะลิ้นหัวใจตีบ/รั่ว (valvular heart diseases)
ชนิด
ภาวะลิ้นหัวใจไมตรัลตีบ (Mitral stenosis - MS)
ลิ้นหัวใจไตรคัสปิดรั่ว (Tricuspid regurgitation - TR)
การวินิจฉัย
ผล Echo -Severe rheumatic MS with severe PHT with severe TR,PR
ผล CT -Brain ole infarction at right basal ganglia with mild brain volume lose and dilatad frontal horn of right lsteral ventrcle left brain sinusitis
ภาวะแทรกซ้อน
เลือดไปเลี้ยงร่างกายไม่เพียงพอ
มีภาาวะหัวใจล้มเหลว
การรักษา
จำกัดน้ำ 1200 cc/day
ป้องกันภาวะ volume over load
warfarin (2) 1*1
ต้านการเกาะกลุ่มของเกล็ดเลือด
lasix 40 mg
ขับปัสสาวะ
ผ่าตัด MVR wiht TVR with pacing wire
Shock
อาการ
Heart
เต้นเร็วขึ้นเพื่อเพิ่มCOบีบตัวแรงขึ้นเพื่อเพิ่มstroke volume
กระตุ้นการหลั่งhormone
ADH (Antidiuretic hormones) มากขึ้นเพื่อให้ไตพยายามเก็บรักษาน้ำไว้มีการขับปัสสาวะลดลง
ในภาวะhypovolemic
จะกระตุ้นthirst centerในรู้สึกกระหายน้ำอาจมาด้วยอาการlow CO
หน้ามืด คล้ายจะเป็นลม ซึม หมดสติ
ปัสสาวะออกน้อยหรือไม่ออกเลย
ระดับความรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลง
Cardiogenic shock
Ischemic heart มีangina pain
มีประวัติโรคประจำตัวที่เสี่ยงต่อการเกิด CAD
Hypovolemic shock
เสียเลือดทั้งทางอายุรกรรมและศัลยกรรม
อุจจาระร่วงรุนแรง
กระหายน้ำในรายที่มีdehydrate
septic shock
มีการติดเชื้อเฉพาะที่หรือsystemic
ประเภทของshock
Hypovolemic shock
Cardiogenic shock
Septic shock
Anaphylactic shock
Adrenal shock
การวินิจฉัย
ค้นหาสาเหตุ
อาศัยข้อมูลทางคลินิกEKG CBC UA CXR
ระดับ Hormone ในรายที่มีการ shockจากการขาดHormone
ค้นหาสาเหตุของการแพ้ใน Anaphylactic shockแพ้ยา อาหาร หรือสารเคมี
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการshock ซึ่งอาจมีมากกว่า1ปัจจัยเช่นในรายที่มีโรคประจำตัว เบาหวาน หัวใจ
การพยาบาล
ประเมินorgan perfusion
Record V/S I/O
ดูแลให้ได้รับO2ที่เพียงพอ O2Sat>=95%
เฝ้าระวังการติดเชื้อเพิ่มขึ้น
นางศิริธร ยุทธพงษ์ธาดา เลขที่ 82 รหัส 62111301085