Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ใหญ่ ระบบหัวใจและหลอดเลือด, นางสาวศุภิสรา หงษ์ทอง เลขที่ 84 …
การพยาบาลผู้ใหญ่
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
ภาวะหัวใจล้มเหลว
(Congestive Heart Failure)
คือ
ภาวะที่หัวใจไม่สามารถสูบฉีดเลือดไปเลี้ยงอวัยวะต่าง ๆ ของร่างกายได้อย่างเพียงพอ
สาเหตุ
หัวใจทำงานหนักเกินกำลัง
ปริมาตรของเลือดในระบบไหลเวียนมากเกินไป
มีความพิการของหัวใจแต่กำเนิด
ภาวะลิ้นหัวใจรั่ว
ความผิดปกติในการทำงานของกล้ามเนื้อหัวใจ
กล้ามเนื้อหัวใจตาย
กล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ
กล้ามเนื้อหัวใจอ่อนแรงโดยไม่ทราบสาเหตุ
ความผิดปกติของเยื่อบุหัวใจ
มีน้ำ เลือด หรือ หนองภายในช่องเยื่อหุ้มหัวใจ
เยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ
ชนิด
systolic heart failure
diastolic heart failure
Right ventricle failure
Left ventricle failure
Chronic heart failure
Acute heart failure
อาการหัวใจวายข้างซ้าย
หายใจหอบเหนื่อย
จากมีการคั่งของเลือดและน้ำที่ปอด
นอนราบไม่ได้ นอนหลับหลายชม.ไป ตื่นขึ้นมานั่งหอบ
การไอ
ฟังเสียงปอดจะมีเสียง Crepitation
อ่อนเพลีย
จากการที่เซลล์ของร่างกายได้รับเลือดและออกซิเจนลดลง
ความดันโลหิตลดลง
มีอาการกระสับกระส่าย ความจำเสื่อม เป็นลม
อาการหัวใจวายข้างขวา
การบวมตามส่วนต่างๆ อาจกดบุ๋ม
ตับโต
จากการที่มีเลือดคั่งในหลอดเลือดในตับ
ท้องมาน
หลอดเลือดดำที่คอโป่ง
แน่นจุกบริเวณใต้ชายโครงขวา
หรือบริเวณลิ้นปี่
การรักษา
โดยรักษาด้วยการผ่าตัดเพื่อแก้ไขสาเหตุนั้น ๆ
ขจัดสาเหตุส่งเสริม
เช่น
โลหิตจาง
การติดเชื้อ
ต่อมไธรอยด์เป็นพิษ
ลดการทำงานของหัวใจลง
จำกัดกิจกรรมต่าง ๆ
ลด Preload
ให้ผู้ป่วยนั่งห้อยขาลงข้างเตียง
ให้ยาขับปัสสาวะ เช่น Lasix ระวังโปตัสเซียมต่ำ
การให้ยาขยายหลอดเลือดดำส่วนปลาย
ลดการคั่งของน้ำและเกลือ
เพิ่มปริมาณเลือดออกจากหัวใจ
การพยาบาล
จำกัดกิจกรรม นอนพักบนเตียง
โดยดูแลผู้ป่วยให้รับยากลุ่มไดจิตาลิส ตามแผนการรักษา และระวังพิษของยา
ดูแลให้ไดรับยาเพิ่มความดันโลหิต ยาขยายหลอดเลือด ตามแผนการรักษาของแพทย์
ลดการคั่งของน้ำในร่างกาย
จำกัดน้ำดื่ม
จำกัดอาหารรสเค็ม
ดูแลให้ได้รับยาขับปัสสาวะ
SHOCK
ชนิด
ช็อกจากการเสียเลือดและน้ำ
(hypovolemic shock)
ช็อกเกี่ยวกับหัวใจ (cardiogenic shock)
ช็อกจากการกระจายของเลือด
ช็อกจากระบบประสาท
(nerogenic shock)
ช็อกจากภูมิแพ้ (anaphylactic shock)
ช็อกจากภาวะติดเชื้อ (septic shock)
hypovolemic shock
สาเหตุ
เสียเลือด
บาดเจ็บ
เสียพลาสม่า
ไฟไหม้
เสียน้ำออกจากร่างกาย
อาการ
ความดันโลหิตตก
ชีพจรเร็ว เบา
เหงื่อออก ตัวเย็น
หายใจเร็ว
อ่อนเพลีย กระหายน้ำ ปากแห้ง
ผิวหนังเย็น ม่วง (cyanosis)
ลาย (cutis marmorata)
การรักษา
ให้สารน้ำและ electrolyte ชดเชยตามชนิดที่เสียไป
ให้เลือดทดแทน ระหว่างรอเลือดควรให้สารน้ำชนิดอื่นไปก่อน
Cardiogenic shock
สาเหตุ
สูญเสียประสิทธิภาพในการบีบตัวของกล้ามเนื้อหัวใจ
การอักเสบของกล้ามเนื้อหัวใจ
กล้ามเนื้อหัวใจอ่อนแรง
ภาวะกล้ามเนื้อหัวใจตาย
การอุดกั้นการไหลของเลือด
Distributive shock
ได้แก่
neurogenic shock
สาเหตุ
การบาดเจ็บของ thoracic spine
ได้รับยาทางไขสันหลังในระดับสูง
hypoglycemia
septic shock
สาเหตุ
ได้รับ endotoxin ของเชื้อ
คือ
ภาวะ sepsis ร่วมกับมีความดันโลหิตต่ำ
ทั้งที่ได้รับสารน้ำชดเชยอย่างเพียงพอ
anaphylactic shock
สาเหตุ
ยา
อาหารบางประเภท
ถูกพิษแมลง
อาการ
ผิวหนังมีผื่นแดงเป็นลมพิษ
หายใจลำบาก เสียงหายใจมี wheezing และมี cyanosis
เสียงแหบและหายใจมีเสียง stridor
ความดันโลหิตต่ำ กระสับกระส่ายร่วมกับหัวใจเต้นเร็วและหายใจเร็วขึ้น
การพยาบาล
การให้O2
โดยให้non-rebreather mask 12-15 ลิตร/นาที
การช่วยระบายอากาศ (Ventilation)
การควบคุมภาวะเลือดออก
ให้กดบริเวณบาดแผลที่มี
เลือดออก
การจัดท่า (Positioning)
Pt.นอนยกปลายเท้าสูง
การให้สารน้ำ
การใช้ยา ในรายที่รุนแรง
กลุ่มยาที่ทำให้หลอดเลือดหดตัว (Vasoconstricting drugs)
กลุ่มยาช่วยเพิ่มการบีบตัวของหัวใจ (Enhancing myocardial contraction)
กลุ่มยาเพิ่มการไหลเวียนเลือดสู่กล้ามเนื้อหัวใจ (Enhancing myocardial perfusion)
การเฝ้าระวังและตรวจประเมิน
ภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน
(Acute coronary syndrome : ACS)
อาการแสดง
เจ็บหน้าอกจากกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดไปเลี้ยง
เจ็บขณะพักนานกว่า 20 นาที
ร้าวไปกราม, หัวไหล่, แขนด้านใน
เหงื่อออก, เวียนศีรษะ, คลื่นไส้อาเจียน
การรักษา
การรักษาด้วยยาละลายลิ่มเลือด
(Anti-Thrombolytic)
การรักษาด้วยวิธีการทำบอลลูน ถ่างขยายหลอดเลือดและใส่ขดลวด
คำแนะนำหลังทำ PCI
หลังสวนหัวใจแล้ว 24 ชั่วโมง ผู้ป่วยสามารถอาบน้ำและถูสบู่ได้
หลีกเลี่ยงการแช่ตัวในอ่างอาบน้ำ ห้ามทาแป้งหรือโลชั่นบริเวณแผล 1 สัปดาห์
ห้ามยก แบก หรือผลักของหนักๆ
โดยเฉพาะ ช่วง 5-7 วันแรก ประมาณ 5 กิโลกรัมขึ้นไป
การรักษาด้วยวิธีการผ่าตัด
(Coronary Artery Bypass Graft: CABG)
การรักษาเบื้องต้น
MONA
M = Morphine
O = O2 therapy
N = Nitrate
A = ASA
Aspirin 160 หรือ 325 mg 1 เม็ด เคี้ยวทันที
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วย
ไม่ควรให้เกิดอาการท้องผูก หรือต้องออกแรงในการเบ่งถ่ายมาก
หลีกเลี่ยง/ งดบุหรี่
หลีกเลี่ยงเครื่องดื่มประเภท ชา กาแฟ น้ำอัดลม และเครื่องดื่มประเภทมึนเมา
ควรรับประทานยาตามแผนการรักษาให้ครบถ้วน ไม่หยุดยาเอง
ยาอมใต้ลิ้น
ให้อมยาใต้ลิ้น 1 เม็ดถ้ามีอาการเจ็บแน่นหน้าอก
ถ้าอาการไม่ทุเลาให้อมยาซ้ำอีก 2 ครั้ง ครั้งละ 1 เม็ด แต่ละครั้งห่างกัน 5 นาที
หากอมยาครบ 3 เม็ด ยังไม่หายให้รีบไปพบแพทย์
นางสาวศุภิสรา หงษ์ทอง เลขที่ 84
รหัสนักศึกษา 62111301087