Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สรุปสาระสำคัญการพยาบาลผู้ใหญ่ ระบบหัวใจเเหละหลอดเลือด - Coggle Diagram
สรุปสาระสำคัญการพยาบาลผู้ใหญ่ ระบบหัวใจเเหละหลอดเลือด
CHF (Congestive Heart Failure)
การพยาบาล
ให้ได้ออกซิเจนที่เพียงพอ
ลด Aferload โดยให้ยาขยายหลอดเลือด
ลด Preload โดยจำกัดน้ำเเละเกลือ โซเดียม ให้ Lasix จัดท่านอนศีรษะสูง นั่งห้อยขา
ให้ยากระตุ้นการทำงานของหัวใจ
Afterload เพิ่ม Cardiac workload ก็จะเพิ่มตาม
Preload
ปริมาณเลือดฝน้ำที่เข้าหัวใจ
Afterload
เเรงต้านทานของหลอดเลือด
เป็นภาวะที่หัวใจไม่สามารถสูบเลือดออกไปเลี้ยงร่างกายได้เพียงพอ อาจมีสาเหตุมาจาก ความผิดปกติของลิ้นหัวใจ เเละกล้ามเนื้อหัใจ
อาการที่พบบ่อย คือ หัวใจเต้นเร็ว เส้นเลือดดำที่คอโป่งพองหัวใจโต เสียงหัวใจเเบบ murmur ฟังปอดได้ยินเสียง wheezing พบอาการตับโตเเละบวมกดบุ๋ม
ACS (Acute Coronary Syndrome)
ภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน
เจ็บหน้าอก ร้าวเเขนซ้าย เหงื่อเเตก ใจสั่น วูบ
การพยาบาล
MONA
Morphine / Oxygen / Nitroglycerine / ASA or Plavix
ลด chest pain ให้ออกซิเจน EKG 12 lead เฝ้าระวังภาวะเเทรกซ้อน
ได้รับยา Streptokinase
ห้ามใช้ในกรณีมีประจำเดือน เคยได้รับการผ่าตัดใหญ่ เคยเป็นอัมพาตที่เกิดจากเลือดออกในสมอง
VHD
มีอาการเหนื่อยง่าย หัวใจโต เต้นผิดจังหวะ/ล้มเหลว
โรคเกี่ยวกับลิ้นหัวใจ
Aortic sternosis (AS ตีบ)
Mitral stenosis (MS ตีบ)
Aortic Regurgitation (AR รั่ว)
Mitral Regurgitation (MR รั่ว)
การพยาบาล
ป้องกันลิ้นหัวใจเทียมติดเชื้อ / ATB
สังเกตอาการน้ำเกิน /หัวใจวาย
ตรวจฟันทุก 6 เดือน
สังเกตอาการเลือดออกง่าย
ทานยาต้านการเเข็งตัวของเลือดต่อเนื่อง
หลีกเลี่ยงอาหาร วิตามินเคสูง โสม กระเทียม เเปะก๊วย
ห้ามทานยา 2 เท่า
EKG Arrhythmia เเละ Cardiac arrest
ผู้ป่วยหัวใจเต้นช้า (Bradycardia)
หัวใจเต้นช้าน้อยกว่า 60 ครั้ง/นาที ร่วมกับมีอาการหน้ามือดเป็นลม หมดสติชั่วขณะ เเต่คลำชีพจรได้ การพยาบาที่สำคัญคือ EKG 12 lead เเละให้ Atropine
Ventricular fibrillation (VF)
มักมีสาเหตุมาจากกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด หัวใจห้องล่างเต้นสั่นพลิ้ว จึงไม่เเรงพอที่จะมีชีพจร เเละความดันโลหิตอาจมีรูปร่างหลากหลายต้องให้การช่วยเหลือ โดยการทำ CPR ร่วมกับ Defibrillation
PEA (Pulseless electrical activity)
บางครั้งมีหน้าตาเหมือนจะปกติ เเต่อาจจะพบอาการเเสดงของผู้ป่วยที่ผิดปกติ เช่น ตาค้าง หรือหลับไป หมดสติ คลำชีพจรไม่ได้ หมายถึง หัวใจหยุดยังมีการส่งกระเเสไฟฟ้าเเต่ไม่มีประสิทธิภาพพอให้เกิดชีพจร จะต้อง CPRโดยด่วน
Shock
Hypovolemic shock
ระดับที่ 1
การเสียเลือด (มิลลิลิตร)
น้อยกว่า 750
การเสียเลือด (ร้อยละของปริมาตรเลือดในร่างกาย)
น้อยกว่า 15 %
อัตราการเต้นของชีพจร
น้อยกว่า 100
ความดันโลหิต
ปกติ
Pulse pressure
ปกติ
Capillary refill
ปกติ
จำนวนปัสสาวะ (มิลลิลิตร/ชั่วโมง)
มากกว่า 30
สภาพจิตใจ
วิตกกังวลเล็กน้อย
การให้สารน้ำทดเเทน
Crystalloid
อัตราการหายใจ
14-20
ระดับที่ 2
อัตราการเต้นของชีพจร
มากกว่า 100
การเสียเลือด (มิลลิลิตร)
750 - 1500
Pulse pressure
เเคบ
การเสียเลือด (ร้อยละของปริมาตรเลือดในร่างกาย)
15 - 30 %
จำนวนปัสสาวะ (มิลลิลิตร/ชั่วโมง)
20-30
ความดันโลหิต
ปกติ
Capillary refill
ช้า
การให้สารน้ำทดเเทน
Crystalloid
สภาพจิตใจ
วิตกกังวลเล็กน้อย
อัตราการหายใจ
20 - 30
ระดับที่ 3
การเสียเลือด (มิลลิลิตร)
1500 - 2000
การเสียเลือด (ร้อยละของปริมาตรเลือดในร่างกาย)
30 - 40 %
อัตราการเต้นของชีพจร
มากกว่า 120
ความดันโลหิต
ลดลง
Pulse pressure
เเคบ
Capillary refill
ช้า
จำนวนปัสสาวะ (มิลลิลิตร/ชั่วโมง)
สภาพจิตใจ
สับสน
การให้สารน้ำทดเเทน
Crystalloid เเละเลือด
อัตราการหายใจ
30 -40
ระดับที่ 4
การเสียเลือด (มิลลิลิตร)
มากกว่า 2000
การเสียเลือด (ร้อยละของปริมาตรเลือดในร่างกาย)
มากกว่า 40 %
อัตราการเต้นของชีพจร
มากกว่า 140
ความดันโลหิต
ลดลง
Pulse pressure
เเคบ
Capillary refill
ช้า
จำนวนปัสสาวะ (มิลลิลิตร/ชั่วโมง)
ไม่มี
สภาพจิตใจ
สับสนมาก ไม่รู้สึกตัว
การให้สารน้ำทดเเทน
Crystalloid เเละเลือด
อัตราการหายใจ
มากกว่า 40
Anaphylactic shock
ประเมินอาการเบื้องต้น
First - Line Treatment
Oxygen Supplement กรณีผู้ป่วยมี respiratory distress หรือภาวะช็อก
Positioninf the patient จัดท่านอนหงาย
Second - Line medication
ประเมินการตอบสนองต่อการรักษาหลังผู้ป่วยได้ Epinephrine ไปเเล้ว 5-15 นาที
ตอบสนองดี
สังเกตุอาการในโรงพยาบาลอย่างน้อย 4 - 8 hr
ตอบสนองไม่ดี
Epinephrine IM ซ้ำ (ขนาดเดิม)
ประเมินการตอบสนองต่อการรักษาหลังผู้ป่วยได้ Epinephrine ไปเเล้ว 5-15 นาที
ให้สารน้ำ
ให้ยาซ้ำอีก
พิจารณาให้ glucagon
Septic shock
ได้รับ endotoxin ของเชื้อเเบคทีเรีย รา ไวรัส เเละโพรโทซัว ทำให้มีหลอดเลือดขยาย เเละมีความดันลดลง
Sirs Criteria + อวัยวะที่ติดเชื้อ
T มากกว่า 38 ํc ซ หรือ น้อยกว่า 36 ํc หนาวสั่น
อัตราการเต้นของหัวใจ มากกว่า 90 ครั้งต่อนาที
อัตราการหายใจ มากกว่า 20 ครั้ง/นาที
WBC มากกว่า 12000 เซลล์/ลบ.มม.
หรือน้อยกว่า 4000 เซลล์/ลบ.มม.
หรือ มากกว่า 10 % immature band forms
ความดันโลหิตสูง
ภาวะความดันโลหิตสูงเร่งด่วน (Hypertensive emergency)
มากกว่า 180/110 มม.ปรอท
มีอาการปวดศีรษะอย่างมาก หายใจเหนื่อย
อากการเเสดงไม่มีอันตรายต่ออวัยวะต่างๆ
เป้าหมายคือ ลดความดันโลหิตใน 24-72 hr
ได้รับยาลดความดันชนิดรับประทานเเบบออกฤทธิ์เร็ว
ภาวะความดันโลหิตสูงวิกฤต (Hypertensive crisis)
มากกว่า 220/140 มม.ปรอท
มีอาการเเน่นหน้าอกอย่างรุนเเรง หอบเหนื่อย หมดสติ ชัก
มีอาการเเสดงที่เป็นอันตรายต่ออวัยวะต่างๆที่มีอันตรายถึงเเก่ชีวิตของร่างกายกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน ภาวะหัวใจวาย หลอดเลือดในสมองเเตก
เป้าหมายคือต้องลดความดันโลหิตในทันที
ได้รับยาลดความดันชนิดให้ทางหลอดเลือด
ภาวะความดันโลหิตสูง (Hypertensive)
มากกว่า 180/110มม.ปรอท
ไม่มีอาการผิดปกติใดๆ
ไม่มีความอาการเเสดงที่อันตรายต่ออวัยวะต่างๆ
เป้าหมายคือ ต้องลดความดันโลหิตภายใน 72 hr
ได้รับยาลดความดันชนิดรับประทานที่ออกฤทธิ์นาน
Pacemaker
การพยาบาล
ถ้าจับชีพจร เเล้วเปลี่ยนเเปลงน้อยกว่า หรือมากกว่า 5-10 ครั้ง/นาทีต้องรายงานเเพทย์
ไม่ทำเเผลทุกวัน ในช่วงเเรก ต้องระวังเเผลเปียกน้ำ
ไม่กางเเขนเกิน 90 องศา เป็นเวลา 4-6 สัปดาห์
PPM (Permanent pacemaker)
ภาวะเเทรกซ้อนที่พบบ่อย
มีลม หรือเลือดในช่องเยื่อหุ้มปอด
เกิดลิ่มเลือดอุดตันทำให้เกิดภาวะหลอดเลือดในสมองตีบ กล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน