Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบหัวใจและหลอดเลือด, image - Coggle Diagram
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
Acute Coronary Syndrom
Non STEMI
STEMI
Unstable Angina
หลักการพยาบาลที่สำคัญ
O oxygen
N nitroglycerine
M morphine
A asa or plavix
EKG 12 lead
เฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อน
ให้ออกซิเจน
ส่งเสริมการปรับตัว การดูแลตนเองเมื่อกลับบ้าน
ลดchest pain
SK,PCL,CABG
ข้อห้ามเด็ดขาด
เคยเป็นอัมพาตเกิดจากเลือดออกในสมอง
เคยเป็นเนื้องอกในสมอง
เคยได้รับการผ่าตัดใหญ่ บาดเจ็บรุนแรงใน2สัปดาห์
เจ็บแปล๊บรุนแรง ทะลุไปข้างหลัง
Lab CK MB สูงขึ้น
S/SS เจ็บหน้าอก ร้าวแขนซ้าย เหงื่อแตก ใจสั่น วูบ
EKG ผิดปกติ
Congestive Heart Failure
Left Sided Failure
หายใจลำบากเวลากลางคืน
ความดันสูง
ความแออัดของปอด
หายใจมีเสียงวี๊ด
เสมหะมีเลือดปน
ไอ
กระสับกระส่าย
ฟกช้ำ
หอบเหนื่อย
Right Sided Failure
บวม
น้ำหนักขึ้น บวม อ้วน
เหนื่อย
เบื่ออาหาร
หลักการพยาบาล
ได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ
ลดAfterload
ให้ยาขยายหลอดเลือด
NTG/Hydralazine/ACEI
ลดPreload
จำกัดน้ำ เกลือ Na
นั่งห้อยขา
ให้Lasix
ให้ยากระตุ้นการทำงานของหัวใจ
Digoxin toxin มากกว่า2mg ทำลายไต
จับญเต็มนาทีมากกว่า60
Cardiac Pacemaker
ชนิดชั่วคราว (Temporary)
ชนิดถาวร(Permanent)
หลักการพยาบาลที่สำคัญ
ไม่กางแขนเกิน90องศานาน4-6สัปดาห์
วูบ เป็นลม อ่อนเพลียรีบพบแพทย์
ไม่ทำแผลทุกวัน
ระวังอันตรายจากกระแสไฟฟ้าความถี่สูง
ชีพจรเปลี่ยนแปลงมากกว่า5ถึง10ครั้ง/นาทีรีบรายงานแพทย์
ช่วยลดความวิตกกังวลและให้กำลังใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่ใส่เครื่องกระตุ้นหัวใจชนิดPPM (Permanent pacemaker)
ภาวะแทรกซ้อนที่พบบ่อย
มีเลือดออกหรือมีก้อนเลือดที่เกิดจากการมีเลือดออกและคั่งอย่ใูต้ผิวหนัง
ติดเชื้อบริเวณที่ใส่ เครื่องกระต้นุไฟฟ้าหัวใจ
มีอาการแพ้ยาที่ได้รับระหวา่งการใส่เครื่อง
หลอดเลือดได้รับความเสียหาย
มีลมหรือเลือดในช่องเยื่อห้มุปอด Pneumothorax / Hemothorax
เสียชีวิต (โอกาสเกิดน้อยมาก)
การพยาบาล PPM ใน 24 ชั่วโมงแรก
ติดตามคลื่นไฟฟ้าหัวใจและจังหวะการเต้นของหัวใจอย่างต่อเนื่อง
ประเมินสัญญาณชีพ โดยวัดความดันโลหิต ชีพจร และอัตราการ หายใจทกุ 1 ชั่วโมง
ติดตามการทำงานของเครื่องกระตุ้นหัวใจแบบชั่วคราวให้มีการ ทำงานปกติ ตลอดเวลา
ประเมินอาการของภาวะเลือดออกจากหัวใจในหนึ่งนาทีลดลง
ประเมินอาการ ลมรั่วหรือมีเลือดในช่องเยื่อหุ้มปอด
การพยาบาล PPM ใน 7 วันแรก
การปฏิบัติตนเรื่องการใช้แขน
แขนแนบลำตัวไม่กางไหล่ จนมาเปิดแผล พบแพทย์เมื่อครบกำหนด 1 สัปดาห์
7 วันถึง 1 เดือน กางแขนระดับไหล่
ใน 7 วันแรก ไม่ให้ยกแขนด้านที่ใส่เครื่อง โดยจะมีสายคล้องแขนไว้ตลอดเวลา
มากกว่า 1 เดือน ยกเหนือไหล่ได้
งดใส่เสื้อสวมหัว (ใส่เสื้อแบบติดกระดุมหน้า)
ช่วงแรกที่แผลย้งปิดไม่สนิท จะปิดแผ่นกันน้ำโดยห้ามแกะเองเด็ดขาด
รับประทานยาฆ่าเชื้อให้ครบตามแพทย์สั่ง
Valvular Heart Disease
อาการ
เสี่ยงต่อการเกิดลิ่มเลือด
หัวใจโต เต้นผิดจังหวะ ล้มเหลว
เหนื่อยง่าย
หลักการพยาบาลที่สำคัญ
สังเกตอาการน้ำเกิน หัวใจวาย
หลีกเลี่ยงที่แออัด
ป้องกันลิ้นหัวใจเทียมติดเชื้อ/ATB
ตรวจฟันทุก6เดือน
ทานยาต้านการแข็งตัวของเลือดต่อเนื่อง
สังเกตอาการเลือดออกง่าย
เลี่ยงอาหารvitk สูง กระเทียม แปะก๊วย