Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สรุปการพยาบาลผู่ใหญ่เรื่องระบบหัวใจและหลอดเลือด, น.ส.พิชญานิน นิสภา 57…
สรุปการพยาบาลผู่ใหญ่เรื่องระบบหัวใจและหลอดเลือด
ภาวะหัวใจล้มเหลว
สาเหตุและปัจจัยเสี่ยง
Abnormal muscle function
Limited ventricular filling
Abnormal loading condition
แบ่งเป็น
หัวใจล้มเหลวข้างซ้ายและข้างขวา
หัวใจล้มเหลวเฉียบพลันและเรื้อรัง
หัวใจล้มเหลวในการบีบตัว และหัใจล้มเหลวในการคลายตัว
จำแนกระดับความรุนแรงและอาการ
AHA/ACC guidelines
STAGE A Pt.มีปัจจัยเสี่ยงสูง ครอบครัวมีประวัติ
STAGE B มีโรคหัวใจที่เกี่ยวกับโครงสร้าง ไม่มีอาการแสดง
STAGE C มีโรคหัวใจที่เกี่ยวกับโครงสร้าง มีอาการแสดง
STAGE D ระยะสุดท้าย ไม่ตอบสนองกับการรักษา มีอาการขณะพัก
NYHA CLASSIFICATION
CLASS III มีขีดจำกัดในการทำกิจกรรมชัดเจน รู้สึกสบายในขณะพัก
CLASS IV ไม่สามารถทำกิจกรรมต่างๆได้ มีอาการเหนื่อยล้า ใจสั่น
CLASS II มีความจำกัดในการมำกิจกรรม เหนื่อยแต่พักแล้วหาย
CLASS I ทำกิจกรรมได้ไม่มีอาการเหนื่อย-เจ็บหน้าอก
Preload
จำนวนเลือดที่ไหลกลับสู่หัวใจ การให้ IV fluid ถือเป็น Preload
Afterload
แรงต้านการไหลของเลือดขณะหัวใจบีบตัว
ได้แก่ แรงต้านของหลอดเลือดแดงใน Pt. HT จะมี Afterload สูง การใช้ยาเพิ่มความดันโลหิต
อาการแสดงหัวใจวายข้างขวา
ตับโต จากการที่มีเลือดคั่งในหลอดเลือดในตับ ท้องมาน (Ascites) หลอดเลือดดำที่คอโป่ง
อาการทางระบบทางเดินอาหาร ผู้ป่ วยจะแน่นจุกบริเวณใต้ชายโครงขวาหรือบริเวณลิ้นปี่ เป็นผลมาจากตับโตจากการมีน้ำคั่ง
การบวม (Edema) ตามส่วนต่างๆ เท้า ข้อเท้า ก้นกบ การบวมอาจกดบุ๋ม(Pitting Edema)
อาการแสดงหัวใจวายข้างซ้าย
หายใจหอบเหนื่อย จากมีการคั่งของเลือดและน้ำที่ปอด ความดันโลหิตลดลง จากการที่หัวใจบีบตัวไม่มีประสิทธิภาพ
นอนราบไม่ได้ (Orthopnea) และนอนหลับไปแล้วหลายชั่วโมงแล้วตื่นขึ้นมานั่งหอบ (Paroxysmal nocturnal dyspnea : PND)
การไอ เป็ นอาการเด่นชัดที่พบบ่อย เกิดจากการมีเลือดและน้ำคั่งในปอด ฟังเสียงปอดจะมีเสียง Crepitation
อ่อนเพลีย (Fatigue) จากการที่เซลล์ของร่างกายได้รับเลือดและออกซิเจนลดลง
สมองขาดออกซิเจน มีอาการกระสับกระส่าย ความจำเสื่อม เป็นลม อาการทางระบบไต ปัสสาวะลดลง
อาการเจ็บหน้าอก พบได้ในกรณีที่เลือดไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจไม่เพียงพอ ผิวซีด/ เขียว จากการขาดเลือดไปเลี้ยง
ผอมและขาดสารอาหาร (Cachexia and malnutrition) จากการที่เลือดไปเลี้ยงร่างกายไม่เพียงพอ
การรักษา
ลดการทำงานของหัวใจลง
ลด Preload หรือลดจำนวนเลือดที่ไหลกลับเข้าสู่หัวใจ
ลด After load หรือลดแรงต้านของหลอดเลือดทางที่เลือดออกจากหัวใจ
จำกัดกิจกรรมต่าง ๆ
ลดการคั่งของน้ำและเกลือ
ขจัดสาเหตุส่งเสริม เช่น ต่อมไธรอยด์เป็นพิษ โลหิตจาง การติดเชื้อ
เพิ่มปริมาณเลือดออกจากหัวใจโดย
ให้ยาเพิ่มแรงในการบีบตัวของหัวใจ
ลดแรงต้านทานของหลอดเลือดแดงส่วนปลาย
ให้ยากลุ่ม Inotropic drug ที่มีฤทธิ์โดยเพิ่มแรงบีบตัวของหวัใจโดยตรง
ยาต้านเบต้า (Beta blocker)
แก้ไขสาเหตุโดยตรงที่ทำให้เกิดภาวะหัวใจล้มเหลว
Shock
ชนิดของช็อก
ช็อกเกี่ยวกับหัวใจ (cardiogenic shock)
ช็อกจากการกระจายของเลือด (distributive shock)
ช็อกจากระบบประสาท (nerogenic shock)
ช็อกจากภูมิแพ้ (anaphylactic shock)
ช็อกจากภาวะติดเชื้อ (septic shock)
ช็อกจากการเสียเลือดและน้ำ (hypovolemic shock)
Hypovolemic shock
สาเหตุ
ภายใน
เสียเลือดภายใน
เสียน้ำเข้าไปในลำไส้
เสียน้ำเข้าไปส่วนที่สามของร่างกาย
ภายนอก
เสียพลาสมา
เสียน้ำออกจากร่างกาย
เสียเลือด
อาการ
ความดันโลหิตตก ชีพจรเร็ว เบา
เหงื่อออก ตัวเย็น ผิวหนังเย็น ม่วง (cyanosis) ลาย (cutis marmorata) โดยเฉพาะบริเวณส่วนปลาย
หายใจเร็ว จากการกระตุ้นของระบบประสาท sympathetic และภาวะเลือดเป็นกรด
กระหายน้ำ ปากแห้ง อ่อนเพลีย
Cardiogenic shock
สาเหตุ
การอุดกั้นการไหลของเลือด
สาเหตุอื่นๆ ได้แก่ โรคของลิ้นหัวใจที่ทำให้ช่องลิ้นหัวใจมีขนาดเล็กลง เลือดผ่านเข้าออกได้น้อย หรือลิ้นหัวใจรั่ว
การสูญเสียประสิทธิภาพในการบีบตัวของกล้ามเนื้อหัวใจ
ทำให้ความสามารถในการบีบตัวของหัวใจลดลงอย่างมาก หัวใจไม่สามารถบีบเลือดไปเลี้ยงส่วนต่างๆ ของร่างกายได้อย่างเพียงพอ
Distributive shock
vasogenic shock
anaphylactic shock
สาเหตุ
ได้รับการกระตุ้น (sensitized) สารกระตุ้นที่เปรียบเสมือน antigen
อาการแสดง
ผิวหนังมีผื่นแดงเป็นลมพิษ
หายใจลำบาก เสียงหายใจมี wheezing และมี cyanosis มีการบวมบริเวณกล่องสียง ทำให้เสียงแหบ และหายใจมีเสียง stridor
ความดันโลหิตต่ำ กระสับกระส่ายร่วมกับหัวใจเต้นเร็วและหายใจเร็วขึ้น
อาจมีอาการอาเจียน ท้องเสีย เป็นตะคริว ปวดท้อง กลั้นปสสาวะไม่ได้ มีเลือดออกทางช่องคลอด
septic shock
สาเหตุ
ได้รับ endotoxin ของเชื้อ ได้แก่ แบคทีเรีย เชื้อรา ไวรัส และโพรโทซัว ทำให้หลอดเลือดขยาย (vasodilatation) ทำให้ความดันโลหิตลดลง
Bacteremia คือ การตรวจพบเชื้อแบคทีเรียในกระแสเลือด โดยไม่มีอาการแสดง
Systemic inflammatory response syndrome (SIRS) คือ กลุ่มอาการแสดงของการตอบสนองทาง systemic ต่อการติดเชื้อ โดยประกอบด้วยอาการตั้งแต่ 2 อาการขึ้นไป
Sepsis คือ การมีอาการหรือร่องรอยของการติดเชื้อ (clinical evidence ofinfection) ร่วมกับอาการตอบสนองทาง systemic ต่อการติดเชื้อ (มีภาวะSIRS ร่วมกับ infection)
Septic Shock คือ ภาวะ sepsis ร่วมกับมีความดันโลหิตต่าทั้งที่ได้รับสารน้ำชดเชยอย่างเพียงพอ และมีอาการแสดงของ tissue perfusion ไม่เพียงพอ
neurogenic shock
สาเหตุ
การบาดเจ็บของไขสันหลังส่วนบนถัดจากกระดูกสัน หลังส่วนอก(thoracic spine)
ได้รับยาทางไขสันหลังในระดับสูง (high level) ได้รับยาเกินขนาด
ภาวะเครียดทางอารมณ์ ปวดอย่างรุนแรง
ได้รับยานอนหลบั เช่น พวกบาร์บิทูเรด (barbiturate)
ภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ (hypoglycemia)
โรคหลอดเลือดหัวใจเฉียบพลัน (ACS)
ปัจจัยเสี่ยง
ปัจจัยเสี่ยงที่ควบคุมได้
ระดับไขมันในเลือดสูง ความดันโลหิตสูง
การสูบบุหรี่ เบาหวาน โรคอ้วน ไม่ออกกำลังกาย
Metabolic Syndrome
ปัจจัยเสี่ยงที่ควบคุมไม่ได้
เพศ
อายุ
กรรมพันธุ์
อาการ
อาการเจ็บหน้าอก
เจ็บหน้าอกจากสาเหตุอื่น ทำให้การวินิจฉัยยากยิ่งขึ้น
เจ็บหน้าอกจากกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดไปเลี้ยง
บิรเวณที่เจ็บ
การรักษาภาวะ(STEMI)
การรักษาด้วยวิธีการท าบอลลูน ถ่างขยายหลอดเลือดและใส่ขดลวด
((Percutaneous Coronary Intervention : PCI with Stent)
การรักษาด้วยวิธีการผ่าตัด (Coronary Artery Bypass Graft: CABG)
การรักษาด้วยยาละลายลิ่มเลือด (Anti-Thrombolytic)
หลักการรักษา
การรักษาเบื้องต้น โดย MONA
M = Morphine
O = O2 therapy (Oxygen therapy : เมื่อมีข้อบ่งชี้เมื่อ O2 sat < 94%)
N = Nitrate (ข้อห้าม ในการใช้ Nitrates : 1.มี BP<90/60 2.HR < 50หรือ > 100)
A = ASA (Aspirin 160 หรือ 325 mg 1 เม็ด เคีhยวทันทีข้อห้ามในการให้ : ผู้ที่แพ้ยา ASA และเลือดออกในทางเดินอาหาร)
การรักษาด้วยยา Streptokinase
มีผลข้างเคียงทำให้เลือดออกในจุดสำคัญ
ปัจจุบันการใช้ Tenecteplacse(TNK) นิยมมากแต่ราคาสูง
น.ส.พิชญานิน นิสภา 57 (62111301059)