Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ใหญ่ระบบหัวใจและหลอดเลือด, image, image, นางสาวไพลิน ล้อเจริญ…
การพยาบาลผู้ใหญ่ระบบหัวใจและหลอดเลือด
ACS (Acute coronary syndrome)
ค่าLab
CK-MB สูงขึ้น TNI(Troponin I)> 0.1 Troponin T (TnT) > 1.5
การพยาบาล หลักMONA
M: Morphine ลดปวด M: Morphine ลดปวด
N: Nitrate (ข้อห้าม BP <90/60 HR<50 or > 100)
A: Aspirin เคี้ยวทันที
O: ให้ออกซิเจน เมื่อ O2 sat<95%
อาการ
เจ็บหน้าอก ร้าวแขนซ้าย
เหงื่อออก
ใจสั่น วูบ
การพยาบาลก่อนได้รับยา Streptokinase
ข้อห้ามใช้ เด็ดขาด!!
เคยเป็นอัมพาตเกิดจากเลือดออกในสมอง
เคยเป็นเนื้องอกในสมอง
บาดเจ็บที่ศีรษะ ใน 2 Wk เจ็บแปล๊บรุนแรง ทะลุไปข้างหลัง (สงสัยเอออร์ตาปริแตก)
เคยได้รับการผ่าตัดใหญ่ บาดเจ็บรุนแรง
ข้อห้ามใช้ ผ่อนผันได้
เคยได้รับ SK ในระยะเวลา 2 ปี ที่ผ่านมา
มีประวัติแพ้ SK
ตั้งครรภ์
เคยทำCPR นานกว่า 10 นาทีหรือ บาดเจ็บจากการทำCPR
BP > 180/110 mmHg (วัดซํ้า 2 ครั้ง)
มีปัญหาเลือดออกผิดปกติ/ ได้ยาต้านการแข็งตัวของเลือด
EKGArrhythmia และ cardiac arrest
Bradycardia
หัวใจเต้นน้อยกว่า 60 ครั้ง/นาที ร่วมกับอาการหน้ามืดเป็นลม หมดสติไปชั่วขณะ แต่ยังคลําชีพจรได้
การรักษาและการพยาบาลที่สาคัญ
EKG 12 lead และให้ Atropine
Ventricular fibrillation
สาเหตุ
กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด หัวใจห้องล่างเต้นสั่นพลิ้ว จึงไม่มีP และ BP
การช่วยเหลือ/การรักษา
ทํา CPR ร่วมกับ Defibrillation
Pulseless electrical activity
อาการ
ตาค้าง หรือหลับไป หมดสติเรียกไม่รู้ตัว คลําไม่พบชีพจร
หัวใจหยุดยังมีการส่งกระแสไฟฟ้าแต่ไม่มีประสิทธิภาพพอให้เกิดชีพจร
การช่วยเหลือ/การรักษา
ทํา CPR
ขั้นตอน การทํา CPR
รีบเรียกทีมมาช่วย
ทําการกดนวดหน้าอก
ให้ยา Adrenaline ตามแผนการรักษา
หาสาเหตุของหัวใจหยุดเต้น
CHF (Congestive Heart Failure)
หลังการพยาบาลสําคัญ
การได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ
ให้ยากระตุ้นการทํางานของหัวใจ
ให้Digoxin เพื่อเพื่มSV, CO ลดHR
จับชีพจรเต็มนาที >ุ60
ระวัง Digoxin toxiv >2 ng ทําลายไต
ลด Preload
จํากัด นํ้า/เกลือ
ให้นั่งห้อยขา
ให้ยาขับปัสสาวะ เช่น Lasix ระวังโปตัสเซียมต่า
นอนบนเตียงในท่า Fowler’s position
ลด Aferload
ให้ยาขยายหลอดเลือก
NTG / hydralazine / ACEI
อาการ
Left sided failure
เหนื่อยหอบ
ซีด ผอม
นอนราบไม่ได้
ฟังเสียงปอดมี crepitation
ปลายมือปลายเท้าเขียว
right sided failure
บวม อาจกดบุ๋ม
ตับโต
ท้องมาน
หลอดเลือดดําที่คอโป่ง
VHD(Valvular Heart Disease)
อาการ
เหนื่องง่าย
เสี่ยงต่อการเกิดลิ่มเลือด
หัวใจโต เต้นผิดจังหวะ หรือ ล้มเหลว
การพยาบาล
สังเกตอาการหัวใจวาย/น้ำเกิน
เลี่ยงที่แออัด
ตรวจฟันทุก 6m
ทานยาต้านการแข็งตัวของเลือดต่อเนื่อง
สังเกตอาการเลือดออกง่าย
เลี่ยง ViT K สูง
เมื่อลืมทานยาไม่เกิน 12 hr.ให้ทานทันที!
Shock
Anaphylactic shock
ประเมินอาการเบื้องต้น
First - Line Treatment
Oxygen Supplement กรณีผู้ป่วยมีrespiratory distressหรือภาวะช็อก
Positioninf the patient จัดท่านอนหงาย
Second - Line medication
ประเมินการตอบสนองต่อ
Epinephrine ไปเเล้ว 5-15 นาที
ตอบสนองดี
สังเกตุอาการในโรงพยาบาลอย่างน้อย 4 - 8 hr
ตอบสนองไม่ดี
Epinephrine IM ซํ้า (ขนาดเดิม)
ประเมินการตอบสนองต่อEpinephrine ซํ้า 5-15 นาที
พิจารณาให้ lucagon ให้ยาซํ้าอีก ให้สารนํ้า
อาการ
ผิวหนังมีผื่นคล้ายลมพิษ
หายใจเร็ว มีเสียงwheezing
cyanosis
ฺBP ตํ่า ท้องเสีย อาเจียน
Septic shock
สาเหตุ
ได้รับ endotoxin ของเชื้อ ได้แก่ Bacteria virus Protozoa
ทำให้หลอดเลือดขยายตัว ทำให้ BP ลดลง
อาการ
SIRS CRITERIA +อวยัวะที่ติดเชื้อ
T >38°หรือ < 36°
PR >90ครั้ง /min
RR > 20 ครั้ง /min หรือ PaCO2 < 32
WBC> 12,000 เซลล์/ลูกบาศก์มิลลิเมตร หรือ< 4,000 เซลล์/ลูกบาศก์มิลลิเมตร หรือ 10% immature band forms
ลําดับขั้น
SIRS
Sepsis
Severe sepsis
Septic shock
Hypovolemic shock
ระดับที่1
สูญเสียเลือด750 มิลลิลิตรของปริมาณเลือดไหลเวียนทั้งหมด
ร่างกายสามารถปรับชดเชย รักษาปริมาณ Cardiac Output ไว้ได้
ระดับที่ 2
สูญเสียเลือด750-1,500 มิลลิลิตร ของปริมาณเลือดไหลเวียนทั้งหมด
กระสับกระส่าย
Pulse pressure แคบ
Capillary refill นานเกิน3วิ
P 100-200 ครั้ง/นาที
ระดับที่ 3
สูญเสียเลือด 1,500-2,000 มิลลิลิตร ของปริมาณเลือดไหลเวียนทั้งหมด
กระสับกระส่าย ,สับสน
BP drop ,Pulse pressure แคบ
P >120 ครั้ง / นาที R 30-40 ครั้ง / นาที
ปัสสาวะออกน้อย 5-15 มล. / ชม.
เมื่อเกิดภาวะซื้อกระทำาให้มีผลกระทบต่ออวัยวะต่างๆ
หัวใจ
บีบตัวแรงและถี่
ปริมาตรเลือดออกจากหัวใจลดลง
P เต้นเร็วและเบา
เลือด
การไหลเวียนของเลือดลดลง
ปอด
หายใจเร็วขึ้น (tachypnea) เพิ่มออกซิเจนมากขึ้น แต่จะไม่สามารถชดเชยได้
ต่อมหมวกไต
กระตุ้นการทํางานของหัวใจ
ระดับที่4
สูญเสียเลือด >2,000 มิลลิลิตร ของปริมาณเลือดไหลเวียนทั้งหมด
อัตราการเต้นของหัวใจ >140
ไม่รู้สึกตัวหรือสับสนมาก
BP drop ,Pulse pressure แคบ ,R > 40
ไม่ปัสสาวะ
Capillary refill ช้า
แนวทางการรักษา
ให้ออกซิเจน
ประเมินและเฝ้าระวังการตกเลือดภายใน และผ่าตัดห้ามเลือด
ใส่ท่อช่วยหายใจ
เปิดเส้นให้IV Fluid ทางหลอดเลือดดำ
ห้ามเลือดภายนอก
Cardiac Pacemaker
การพยาบาล PPM 24 ชั่วโมงแรก
ติดตามการทำงานของPPM แบบชั่วคราว ให้ทำงานปกติ
ติดตามคลื่นไฟฟ้าและจังหวะการเต้นของอย่างต่อเนื่อง พร้อมกับการจับชีพจร
ประเมินV/S โดยวัดBP PR และRR 1 hr. หรือตามความเหมาะสม
ประเมินอาการของภาวะเลือดออกจาก ใน 1 min ลดลง เช่น ผิวหนังเย็น ซีด BP ต่ำ
ประเมินอาการ Pneumothorax / Hemothorax พบบ่อยในPt.เหนื่อยมากแบบAcute nurse ควรเตรียมอุปกรณ์ใส่ ICD เพื่อระบายลมรั่วในปอด
การพยาบาล PPM 7 วันแรก
รับประทานยาฆ่าเชื้อให้ครบตามแพทย์สั่ง
ใน 7 วันแรก ไม่ให้ยกแขนด้านที่ใส่เครื่อง โดยมีสายคล้องแขนไว้ตลอดเวลา
แขนแนบลําตัวไม่กางไหล่ จนมาเปิดแผล พบแพทย์เมื่อครบ 1 สัปดาห์
7 วัน ถึง 1 เดือน กางแขนระดับไหล่
มากกว่า 1 เดือน ยกเหนือไหล่ได้
งดใส่เสื้อสวมหัว
ช่วงแรกแผลปิดไม่สนิท จะปิดแผ่นกันนํ้า โดยห้ามแกะเองเด็ดขาด
หากมีอาการผิดปกติ เช่น ใจสั่น หน้ามืดเป็นลม สะอึกตลอดเวลา ควรรีบแจ้งแพทย์ พยาบาล
ภาวะแทรกซ้อน
เลือดออกหรือมีก้อนเลือด คั่งอยู่ใต้ผิวหนังหรือติดเชื้อบริเวณที่ใส่PPM
มีอาการแพ้ยาที่ได้รับระหว่างการใส่เครื่อง
หลอดเลือดได้รับความเสียหาย
สายสื่อสัญญาณไฟฟ้าเลื่อนจากตําแหน่งเดิม
มีลมหรือเลือดในช่องเยื่อหุ้มปอด Pneumothorax / Hemothorax
เกิดภาวะหลอดเลือดในสมองตีบ กล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน
นางสาวไพลิน ล้อเจริญ เลขที่ 64 รหัส 62111301066