Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤติในระบบหัวใจ และการไหลเวียนโลหิต - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤติในระบบหัวใจ
และการไหลเวียนโลหิต
การพยาบาลผู้ป่วย CHF
สาเหตุของภาวะหัวใจล้มเหลว
คววามผิดปกติตั้งแต่กำเนิด
ความผิดปกติของลิ้นหัวใจ
ความผิดปกติของกล้ามเนื้อหัวใจ
ความผิดปกติของเยื่อหุ้มหัวใจ
ความผิดปกติของหลอดเลือดหัวใจ
อาการและอาการแสดง
เหนื่อย (Dyspnea)
บวม ในบริเวณที่เป็นระยางส่วนล่างของร่างกาย (Dependent part)
อ่อนเพลีย (Fatique)
แน่นท้อง ท้องอืด เนื่องจากตับโตจากเลือดคั่งในตับ มีน้ำในช่องท้อง และอาจพบอาการคลื่นไส้เบื่ออาหาร
อาการที่ตรวจพบบ่อย
หัวใจเต้นเร็ว (Tachycardia) หายใจเร็ว (Tachypnea
เส้นเลือดดำ ที่คอโป่งพอง (Jugular vein distension)
หัวใจโต
เสัยงหัวใจและปอดผิดปกติ
ตับโต
บวมกดบุ๋ม
การวินิจฉัย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการเพื่อวินิจฉัย ภาพรังสีทรวงอก
คลื่นไฟฟ้าหัวใจECG
การตรวจเลือด
การตรวจคลื่นเสียงสะท้อนความถี่หัวใจสูง (Echocardiography)
การพยาบาล
ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานของหัวใจ
จัดท่านั่งศีรษะสูง 30-90 องศา (Fowler position)
ประเมิน V/S ทุก 1 ชั่วโมง
ดูแลให้ได้รับยาตามแผนการรักษาและมีการติดตามประเมินผลของยา
ชั่งน้ำหนักผู้ป่วยทุกวันในเวลาเดิม คือตอนเช้าหลังถ่ายปัสสาวะเพื่อประเมินภาวะน้ำเกิน
จำกัดน้ำในแต่ละวันตามแนวทางการรักษา
ช่วยให้ผู้ป่วยสามารถเผชิญกับความเจ็บป่วยด้วยภาวะหัวใจวาย
เพื่อช่วยให้ผุ้ป่วยปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตในการควบคุมอาการของภาวะหัวใจวายได้อย่างถุกต้องเหมาะสม ต้องประเมินความพร้อมในการรับรู้ข้อมูลของผู้ป่วย ญาติ มีการพิจารณาตามอายุ อาชีพ บุคลิกภาพ แรงจูงใจ ลักษณะครอบครัวรวมไปถึงความร่วมมือในการรักษา
ชนิดของหัวใจล้มเหลว
หัวใจล้มเหลวที่แบ่งจากการเกิดโรค
New onset หัวใจล้มเหลวที่เกิดขึ้นครั้งแรก
Transient หัวใขล้มเหลวที่มีอาการชั่วขณะ
Chronic หัวใจล้มเหลวที่มีอาการเรื้อรัง
หัวใจล้มเหลวที่แบ่งตามการทำงานของกล้ามเนื้อหัวใจ
Systolic heart failure หรือ Heart failure with reduced EF (HFREF)
Diastolic heart failure หรือ Heart failure with preserves EF (HFPEF)
หัวใจล้มเหลวที่แบ่งตามอาการของหัวใจที่ผิดปกติ
Left side-heart failure
Right side-heart failure
หัวใจล้มเหลวที่แบ่งตามลักษณะของ Cardiac Output
High-output heart failure
Low-output heart failure
การพยาบาลผู้ป่วยภาวะ Shock
ประเภท
Low cardiac output shock (Hypodynamic shock
High cardiac output shock (Distributive shock, hyperdynamic shock)
Support treatment
Airway
Breathing
Circulation
Fluid theraphy
การให้สารน้ำในภาวะช็อกมีประโยชน์ในช็อกต่อไปนี้
hypovolemic shock
Right side cardiogenic shock
obstructive shock
Distributive shock
ตำแหน่งของหลอดเลือดในการให้สารน้ำ ควรเลือกเส้นเลือดดำที่เป็น Peripheral vein มากกว่าการให้สารน้ำผ่านทาง Central venous catheter
สามารถให้สารนํ้าได้ 2 ประเภทคือ
Cystalloids ใช้ในการ Resuscitation คือ Normal saline.Ringer's lactate solution,Ringer's acetate solusion
Colloids
Vasoactive drug ยาที่ใช้ในการเพิ่มการทำงานของหัวใจ และเพิ่มความต้านทานของหลอดเลือด มีกลไกการออกฤทธิ์หลัก 3 ประการ
Positive intropic effect
Positive Chronotropic effect
Vasopressor effect
การเลือกใช้ Vasoactive drugs ในช็อกประเภทต่างๆ
Hypovolemic shock ไม่ใช้ vasoactive drugS
Cardiogenic shock ถ้า BP ต่ำ ควรเลือกใช้ Dopamine หาก systolic ต่ำกว่า 70 อาจเลือกใช้ Norepinephrine หาก BP ขึ้นแล้ว อาจใช้ Dobutamine
Obstructive shock ครใช้สารน้ำก่อน ถ้ามีหลักฐานว่า Right ventricle บีบตัวได้ไม่ดี กรณีที่ BP ต่ำอยู่พิจารณาใช้ Dobutamine
Septic shock ควรใช้สารน้ำก่อน ถ้าให้สารน้ำเพียงพอแล้วความดันโลหิตยังไม่ขึ้นอาจให้ Dobutamine หรือ Norepinephrine ควรเลือกใช้ Norepinephrine ก่อน
Endocrinologic shock ควรให้สารน้ำและให้การรักษาทดแทนทางฮอร์โมน หรือให้ยาต้านธัยรอยด์ใน Thyriod strom
Anaphylactic shock เลือก Epinephrine(Adrenaline) ก่อนเสมอ
Neurogenic shock เลือก Dopamine
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
ผู้ป่วยอยู่ในภาวะปริมาณเลือดออกจากหัวใจต่อนาทีต่ำเนื่องจากผู้ป่วยมรภาวะช็อค
อาจเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการได้รับยา Levophed อาจเกิดภาวะยาดังเฉพาะที่หรือรั่วซึมออกนอกหลอดเลือดเกิดเนื้อตายได้
เสี่ยงต่อภาวะเนื้อเยื่อพร่องออกซิเจนเนื่องจากประสิทธิภาพการหายใจลดลง
ผู้ป่วยและญาติมีสีหน้าวิตกกังวล
มีไข้จากการติดเชื้อในกระแสเลือด Septic shock
การพยาบาลผู้ป่วย ACS
เกิดจากหลอดเลือดแดงที่เลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจตีบหรือตัน เกิดจากไขมันสะสมอยู่ในผนังของหลอดเลือด ทำให้ เยื่อบุผนังหลอดเลือดชั้นในหนาตัวขึ้น
ปัจจัยเสี่ยง
ปัจจัยเสี่ยงที่ปรับเปลี่ยนไม่ได้
อายุ เพศ ประวัติครอบครัว เชื้อชาติ
ปัจจัยเสี่ยงที่ปรับเปลี่ยนได้
ความดันโลหิตสูง ไขมัน HDLต่ำ น้ำตาลในเลือดสูง ภาวะอ้วนและ การสูบบุหรี่
พฤติกรรมเสี่ยงที่สำคัญ
พฤติกรรมสูบบุหรี่
โรคประจำตัว : HT DM ไขมันในเลือดสูง
มีภาวะแทรกซ้อน
อาการ
เจ็บเค้นอก ใจสั่น เหงื่อออก เหนื่อยขณะออกแรง เป็นลม หมดสติ หรือ เสียชีวิตเฉียบพลัน
กลุ่มอาการ
อาการเจ็บหน้าอกคงที่ (Stable angina)
เจ็บหน้าอกเป็นๆหายๆไม่รุนแรง ระยะเวลา 3-5 นาที หายโดยการพัก หรือ อมยาขยายเส้นเลือดหัวใจ
กลุ่มอาการหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน (Acute coronary syndrome
ผู้ป่วยมีอาการเจ็บหน้าอกรุนแรงเฉียบพลัน หรือเจ็บขณะพัก (Rest angina) และเจ็บนานมากกว่า20นาที
การวินิจฉัยโรคหลอดเลือดหัวใจ
การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
การตรวจ cardiac markers ได้แก่ troponin, cardiac enzyme
การฉีดสีหลอดเลือดหัวใจ (coronary angiography; CAG)
การตรวจคลื่นเสียงสะท้อนของหัวใจ (echo cardiography)
การซักประวัติอาการเจ็บหน้าอก
แนวทางการรักษา
เป้าหมาย
เปิดหลอดเลือดที่ทำให้กล้ามเนื้อหัวใจตายภายใน 6 ชั่วโมง หรืออย่างช้าไม่เกิน 12ชั่วโมง หลังจากมี chest pain
กลุ่ม STEM
ควรรักษาผู้ป่วยด้วยยาต้านเกล็ดเลือดทุกราย
พิจารณาเปิดเส้นเลือดหัวใจที่อุดตันอย่างเร่งด่วน ด้วยวิธีให้ยาละลายลิ่มเลือด (thrombolytic agent)ภายใน 30 นาที หรือ primaryPCI ภายในเวลา120 นาที
ยาละลายลิ่มเลือด มี 2 กลุ่ม** คือกลุ่ม fibrin non-specific agents เช่น Streptokinase และ กลุ่ม fibrin specific agents เช่น Alteplase (tPA) ยากลุ่มหลังมีข้อดีกว่าคือ ไม่ทำให้ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกันต่อต้านฤทธิ์ยา ไม่ทำให้BPลดต่ำลง
ข้อบ่งชี้การให้ยาละลายลิ่มเลือด** คือผู้ป่วยที่มีอาการเจ็บหน้าอกรุนแรงเฉียบพลันชนิด
ST-segment elevation เป็นภายในเวลา 12 ชั่วโมง
ควรพิจารณาให้การรักษาด้วยยา heparin และ ยาบรรเทา อาการเจ็บเค้นอกตามข้อบ่งชี้เป็นรายๆ
กลุ่ม NSTEMI และ unstable angina
ควรให้ยาต้านเกร็ดเลือด 2 ชนิด ร่วมกัน เช่น ให้aspirin ร่วมกับ clopidogrel
ให้ยาlow molecular weight heparin เช่น Enoxaprin เป็นเวลา 3-5 วัน ร่วมกับยากลุ่มnitrates, beta-blockers เพื่อบรรเทาอาการเจ็บหน้าอก
พิจารณาให้ยากลุ่ม narcotics หรือ analgesics ในรายจำเป็นตามข้อบ่งชี้
ติมตามอาการเปลี่ยนแปลง และคลื่นไฟฟ้าหัวใจเป็นระยะ หากยังเจ็บหน้าอกหรือมี หัวใจล้มเหลว หัวใจต้นผิดจังหวะ ควรพิจารณาขยายหลอดเลือดหัวใจ