Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่2 การประเมินปัญหาสุขภาพเพื่อวินิจฉัยโรค, นางสาวภูสุดา สุดสน …
หน่วยที่2
การประเมินปัญหาสุขภาพเพื่อวินิจฉัยโรค
การซักประวัติ History taking
ความสำคัญ
ทําให้รู้ว่าผู้ป่วยเป็นโรคอะไรมากกว่า ร้อยละ 60
มีส่วนสําคัญในการรักษาโรค
เพราะใช้ปลอบประโลมให้กําลังใจ ให้ความรู้ความเข้าใจแก่ผู้ ป่วย ทําให้ผู้ป่วยฟื้นจากโรคภัยไข้เจ็บได้เร็วขึ้น และสามารถ รักษาตนเองไม่ให้โรคกําเริบขึ้น หรือไม่ให้โรคกลับมาเป็นใหม่
เป็นเครื่องมือแรกในการวินิจฉัยโรค
คำถามปลายเปิด VS คำถามปลายปิด
คําถามปลายเปิด (Open-ended question เช่น คําถามที่ลงท้ายด้วย อย่างไร อะไรบ้าง ทําไม เพราะอะไร)
คําถามปลายปิด (Close-ended question) เช่น คําถามที่ลงท้ายด้วย หรือไม่ ใช่หรือไม่ .....หรือ.....
องค์ประกอบของการซักประวัติ
อาการสําคัญ (Chief complain)
อาการสําคัญที่นําผู้ป่วยมาตรวจ
“อาการอะไรที่ทําให้คุณมาหาหมอ”
“คุณมีอาการไม่สบายอะไรหรือ ที่มาหาหมอ”
ถามด้วยว่า “เป็นมานานเท่าไหร่แล้ว”
ประวัติปัจจุบัน (Present illness)
มีอาการอย่างไร
เป็นมานานเท่าใด
เป็นตรงไหน เป็นอย่างไร เริ่มเป็นอย่างไร
เป็นตอนไหน มากน้อยเพียงใด นานไหม เปลี่ยนแปลงไปอย่างไร
อะไรทําให้เป็นมากขึ้น อะไรทําให้เป็นมากหรือทําให้เป็นน้อย มีอาการอะไรร่วมด้วย เคยเป็นมาก่อนหรือไม่
กินยาหรือรักษาอะไรมาแล้วบ้าง
ประวัติอดีต (Past history)
ประวัติความเจ็บป่วยครั้งก่อน ๆ ของผู้ป่วย
“ก่อนหน้านี้ คุณเคยเจ็บป่วยร้ายแรงอะไรบ้างหรือเปล่า”
“คุณเคยเข้าโรงพยาบาลไหม”
“คุณเคยผ่าตัดไหม”
ถ้าผู้ป่วยตอบว่า “เคย” ควรถามต่อทันทีว่า
“เคยไม่สบาย หรือ ต้องเข้าโรงพยาบาลเพื่อผ่าตัดด้วยโรคอะไรบ้าง หรือด้วยปัญหาอะไรบ้าง
มีอาการอย่างไร ป่วยอยู่นานเท่าใด รักษาอย่าไร หมอบอกว่าเป็นโรคอะไร เมื่อหายจากโรค หาย อย่างสมบูรณ์หรือยังไม่อาการไม่สบายหลงเหลืออยู่”
ประวัติตามระบบ
การถามอาการของส่วนต่าง ๆ ตั้งแต่หัวจรดเท้าที่ผู้ป่วยยังไม่ได้เล่าให้ฟัง
4.1 อาการทั่วไป อ้วนขึ้นหรือผอมลง กินข้าวกินปลาได้ไหม อุจจาระ ปัสสาวะได้ตามปกติไหม นอนหลับไหม หน้ามืด วิงเวียนบ่อย ๆ หรือไม่ อาการทั่ว ๆ ไปเป็นอย่างไร
ศีรษะ ตา หู จมูก ปากและฟัน คอ อก ปอดและหลอดลม
หัวใจ ท้อง กระเพาะลำไส้ ตับและระบบน้ำดี
ไต กระเพาะปัสสาวะ ทางเดินปัสสาวะ กระดูกและข้อ
ระบบประสาท กล้ามเนื้อ ผิวหนัง เพศ(หญิงชาย)
ประวัติส่วนตัว
ประวัติส่วนตัวทั่วๆไป เช่น ชื่อนามสกุล เพศ อายุ เชื้อชาติ อาชีพ เป็นต้น
ประวัติการเกิด คลอดครบไหม คลอดปกติไหม ใช้ยาระหว่างคลอดไหม
ประวัติการเติบโตพัฒนาการ
ประวัติการได้รับวัคซีน
ประวัติการศึกษา
ประวัติการทำงาน
ประวัติการใช้สารเสพติด
ประวัติอาการแพ้
ประวัติครอบครัว
ประวัติโรคทางพันธุ์กรรม
ประวัติโรคเรื้อรัง
ประวัติครอบครัวทั่วไป เช่น ครอบครัวมีกี่คน ในบ้านมีใครบ้าง มีพี่น้องกี่คน เป็นต้น
การซักประวัติที่ดี
ให้เวลาแก่ผู้ป่วย
ไม่ใช้คําถามที่ทําให้ผู้ป่วยกลัว เสียใจ ตกใจ
แสดงความเมตตา และเห็นอกเห็นใจ ท้ังในถ้อยคํา และน้ําเสียง
แสดงความพร้อมที่จะช่วยเหลือ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องอะไร
อย่าถามนํา(คําถามปลายปิด)มากเกินไป
การตรวจร่างกาย Physical Examination
เทคนิคการตรวจร่างกาย ดู คลำ เคาะ ฟัง
การตรวจอาการแสดงชีพ
วัดความดันเลือด โดยการคลำและโดยการฟัง
วัดอุณหภูมิกาย ใกล้แกนกลางมากกว่า หู ใต้ลิ้น ทวารหนัก
ตรวจชีพจร
A. Carotid
B. Radial C. Brachial D. Dorsalis pedis E. Posterior Tibial
F. Femoral
นิยมตรวจ A/F
ลักษณะการตรวจของ SKIN, HAIR, NAILS
Cushing’s syndrome การรับสเตียรอยด์เ็นเวลานาน
Acromegaly โรคทางพันธุกรรม
Down’s syndrome
Exophthalmoses ตาโปน
Lid lag เกิดช่องว่างตาขาวกับตาดำ
Anemia ภาวะซีด ลิ้นชมพูจ่าง ฝ่ามือสีออกขาว
Jaundice ตัวตาเหลือง
Rheumatiod arthritis นิ้วมือผิดรูป บิดงอ
Gouty arthritis นิ้วมือตะปุ๋มตะปั่ม
Palma erythema โรคตับ
Flapping tremor มือสั่นกระตุก
Clubbing finger นิ้วปุ้ม
Hirsutism ภาวะขนดก
Alopecia ผมร่วงเป็นหย่อม
Skin lesion
Petechiae เลือดออกใต้ผิวหนัง ผื่น
Spider nevi ผื่นรูปแมงมุม
Onycholysis เล็บแยกจากเนื้อ Chronic Paronychia ขอบเล็บอักเสบเรื้อรัง
Koilonychia เล็บเว้าคล้ายช้อน
การตรวจศีรษะ ใบหน้า และคอ
ตรวจกะโหลกศีรษะ หนังศีรษะ และผม ลักษณะใบหน้า
ตรวจเปลือกตา ขนตา เยื่อบุตา กระจกตา ม่านตา
การตรวจหูด้วย Otoscope Otitis mediaมีน้ำในหู แก้วหูอักเสบ
ตรวจรูจมูก ช่องจมูก คลําและเคาะบริเวณโพรงอากาศ ethmoid, frontal, maxillary
ตรวจริมฝีปาก ฟัน เหงือก เยื่อบุช่องปาก ลิ้น เพดานปาก รูเปิดของท่อน้ําลาย ทอนซิล และคอหอย สังเกตผิวหนังและก้อนที่คอ
ตรวจต่อมน้ําเหลืองที่คอ คลําต่อมน้ําเหลือง occipital, postauricular, preauricular, posterior cervical, anterior cervical, submandibular,supmental, supraclavicular, scalene
การตรวจรักแร้
สังเกตผิวหนังและก้อนที่รักแร้
คลำต่อมน้ำเหลืองที่รักแร้และ
epitrochear
การตรวจเต้านม หน้าอก mass, discharge, tenderness
การตรวจหัวใจ หลอดเลือด และภาวะบวม
ตรวจเลือดแดงส่วนปลาย หลอดเลือดตีบคลำได้น้อยลง
ตรวจภาวะบวม กดบุ๋ม edema
ตรวจหลอดเลือดดำ jugular สังเกตชีพจรหลอดเลือดดํา jugular และวัดความดันเลือดดํา
ตรวจหัวใจ ดู ฟัง คลำ
สังเกตรูปร่างทรวงอก คลำหา apex และ heaving
ฟังเสียหัวใจทั่วไป ใช้ diaphragm และ bell
Diaphragm ฟังลิ้นหัวใจ aortic และขอบซ้าย sternum
การตรวจ trachea และธัยรอยด์ คลำ trachea คลำธัยรอยด์
การตรวจทรวงอกและปอดรวมทั้งกระดูกสันหลัง
สังเกตรูปร่างลักษณะของทรวงอกและกระดูกสันหลัง
สังเกตผนังทรวงอก, ดูลักษณะการหายใจ,นับอัตราการ
หายใจ
คลำและเคาะกระดูกสันหลังหาความผิดปกติและการกด เจ็บ
คลำและเคาะ costovertebral angle หาการกดเจ็บ
การตรวจส่วนท้อง
สังเกต : รูปร่างของท้อง, ผิวหนัง, การ เคลื่อนไหว การโป่งนูนของผิวหน้าท้อง, ก้อน, pulsation, และการบีบตัวของลำไส้
ฟัง : เสียงการบีบตัวของลำไส้, เสียง bruit ของ หลอดเลือดในช่องท้อง
เคาะหน้าท้อง : ลม >> Hyper-resonance น้ำหรือก้อนเนื้อ >> Dullness
คลำ : การคลำตื้น การคลำลึก
การตรวจตับ คลำตับ เคาะหาขอบล่างและขอบบนของตับ วัดช่วงตับ (liver span)
การตรวจม้าม คลำม้ามในท่านอนหงาย และท่านอนตะแคงทับขวา
การตรวจไต คลำไต ด้วยวิธี Bimanual palpation
การตรวจสารในช่องท้อง (Ascites) ตรวจfluid thrill ตรวจ shifting dullness คลำชีพจรหลอดเลือดแดง femoral และต่อมน้ำเหลืองที่ขาหนีบ
ตรวจไส้เลื่อน อวัยวะเพศ และตรวจทางทวารหนัก
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การวินิจฉัยแยกโรค (Differential diagnosis)
Example อาการเจ็บแน่นหน้าอก โรคที่อาจเป็นไปได้ ได้แก่ โรคหัวใจขาดเลือด โรคกระเพาะอาหาร โรคกระดูกอ่อนซี่โครงอักเสบ โรคกล้ามเนื้อหน้าอกอักเสบ
ในเบื้องต้นเราไม่สามารถทราบได้ทันทีว่าผู้ป่วยเป็น โรคอะไร
ต้องรวบรวมข้อมูลให้ได้มากที่สุดที่จะทําให้วินิจฉัย โรคที่เป็นไปได้มากที่สุด
ควรมีลําดับความน่าจะเป็นของโรคเพื่อป้องกันความ ผิดพลาดในการวินิจฉัยโรค
นางสาวภูสุดา สุดสน
รหัสนักศึกษา 611410067-2 นักศึกษาพยาบาลศาสตร์ชั้นปีที่4