Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ใหญ่ระบบหัวใจและหลอดเลือด, นางสาวภัณฑิลา บัวลาด เลขที่66…
การพยาบาลผู้ใหญ่ระบบหัวใจและหลอดเลือด
โรคหลอดเลือดหัวใจเฉียบพลัน ACS
หน้าที่ของหลอดเลือดหัวใจ
นำเลือดไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจ
หลอดเลือดที่ดี จะมีผิวด้านเรียบยืเหยุ่นเลือดไหลผ่านได้สะดวก
ปัจจัยเสี่ยง
ปัจจัยที่ไม่สามารถควบคุมได้
กรรมพันธ์
ผู้ที่มีบุคคลในครอบครัวหรือพี่น้องตามกันมาเป็นหลอดเลือดหัวใจ
เพศ
เพศหญิงมีโอกาสเกิดช้ากว่าเพศชายประมาณ 10 ปี เนื่องจากฮอร์โมนเอสโตรเจน
หลังหมดประจำเดือนเพศชายและเพศหญิงมีโอกาสเกิดเท่ากัน
อายุ
ประมาณ 84% ของผู้เสียชีวิตเป็นผู้ป่วยอายุตั้งแต่ 65 ปีขึ้นไป
วัยสูงอายุเพศหญิงที่มีภาวะกล้ามเนื้อหัวใจตายจะเสียชีวิตได้มากกว่าผู้ชาย 2 เท่า
ปัจจัยเสี่ยงที่สามารถคุมได้
ระดับไขมันในเลือด
การสูบบุหรี่ ความดันโลหิต เบาหวาน โรคอ้วน
ไม่ออกกำลังกาย
อาการและอาการแสดง
ผู้ป่วยจะมีอาการเจ็บหน้าอกจากกล้ามเนื้อขาดเลือดไปเลี้ยง
อาการเจ็บหน้าอก มีหลายสาเหตุ เช่น กระดูก กล้ามเนื้อ ผิวหนัง ทางเดินอาหาร ปอด หัวใจ
บริเวณที่เจ็บหน้าอกจากกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด
บริเวณขากรรไกร คาง
บ่า หัวไหล่
เจ็บร้าวไปที่แขนด้านในทั้ง 2 ข้าง
บริเวณกลางอก
ลักษณะการเจ็บหน้าอกแตกต่างกัน
หลอดเลือดหัวใจตีบ
เจ็บบริเวณกลางหน้าอกหาจุดกดเจ็บไม่ได้อย่างน้อย 2-3นาที
อาการทุเลาเมื่อหยุดพัก
กล้ามเนื้อหัวใจตาย
มีอาการขณะพัก หลังจากออกกำลังกายรุนแรง
อาการไม่ทุเลาเมื่อหยุดพัก หรืออมยาใต้ลิ้น
การรักษาภาวะกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน
การรักษาด้วยวิธีการทำบอลลูน ถ่างขยาย
ตำแหน่งในการฉีดสีสวนหัวใจ
หลอดเลือดแดงที่แขน และ หลอดเลือดแดงที่ขา
การพยาบาล
ให้นอนหงายราบห้ามยกศีรษะ
ประเมิน 6P ทุก 4 ชั่วโมง
ประเมิน Bleeding
เฝ้าระวังไตวายเฉียบพลัน
คำแนะนำ
หลีกเลี่ยงการแช่ตัวในอ่างอาบน้ำ ห้ามทาแป้ง
หลีกเลี่ยงการบิดงอข้อมือ เกร็งหรือใช้ข้อมือ
ห้ามยก แบกหรือ ผลักของหนักๆ
ควรงดขับรถ 3 วัน
การรักษาด้วยวิธีการผ่าตัด CABG
เป้าหมายในการรักษา
ลดการตายของกล้ามเนื้อหัวใจ
คงไว้ซึ่งความสามารถของหัวใจห้องล่างซ้าย
ป้องกันภาวะแทรกซ้อนของ ACS
การรักษาเบื้องต้นโดย MONA
Morphine
O2 therapy
Nitrate
ASA
การรักษาด้วยยา Streptokinase
ผลข้างเคียงสูงเลือดออกในจุดสำคัญ เช่น สมอง ช่องท้อง
ต้องซักประวัติก่อนให้ยาสำคัญมาก เช่น เคยเป็นอัมพาต เคยเป็นเนื้องอกในสมอง
การพยาบาลขณะได้รับยา
ควรหยุดยา Nitroglycerine ทุกชนิดระว่างให้ยา เพราะจะเสริมฤทธิ์กัน
สอบถามอาการเจ็บหน้าอก
ประเมินความรู้สึกตัว
วัดสัญญาณชีพ อย่างน้อยทุก 5 นาที
เฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนจากการได้รับยา
คำแนะนำการปฏิบัติตัว
ในรายที่มีโรคประจำตัว
ควรควบคุมความดันให้อยู่ระหว่าง 120/ 80 - 140/90 มม.ปรอท
ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด 80-90 mg/dl
ควบคุมระดับคอลเลสเตอรอลในเลือดไม่ให้เกิน 200 mg/dl
หลีกเลี่ยงการสูบบุหรี่
รับปประทานอาหารไขมันต่ำ
ออกกำลังกายสม่ำเสมอ
ไม่ควรให้เกิดอาการท้องผูก
คำแนะนำการใช้ยาอมใต้ลิ้น
ให้อม 1 เม็ดถ้ามีอาการเจ็บหน้าอก
ถ้าอาการไม่ทุเลาให้อมยาซ้ำ อีก 2ครั้ง ครั้งละ 1 เม็ดห่างกัน 5นาที
หากอมครบ 3 เม็ดยังไม่ทุเลาให้รีบพบบแพทย์
EKG Arrhythmia และ Cardiac arrest
Ventricular fibrillation
EKG ชนิดนี้มักมีสาเหตุมาจากกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด
การพยาบาล
ทำ CPR ร่วมกับ Defibrillation
PAE ( Pulse electrical activity)
พบในอาการแสดงของผู้ผิดปกติ เช่น ตาค้าง หมดสติ เรียกไม่รู้สึกตัว
การพยาบาล
ทำ CPR
ผู้ป่วยหัวใจเต้นช้า Bradycardia
หัวใจเต้นช้าน้อยกว่า 60 ครั้งต่อนาที ร่วมกับมีอาการอื่นร่วมด้วย
อาการหน้ามืดคล้ายเป็นลม หมดสติไปปชั่วขณะ คลำชีพจรได้
การพยาบาล
EKG 12 lead และให้ Ateopine
ขั้นตอน CPR
รีบเรียกทีมมาช่วย
ทำการกดนวดหน้าอก
ให้ยา Adrenaline ตามแผนการรักษา
หาสาเหตุของหัวใจหยุดเต้น
ภาวะหัวใจล้มเหลว congesttive heart failere
เป็นกลุ่มอาการที่เป็นผลมาจากความผิดปกติทางโครงสร้างหรือการทำงานของหัวใจ ทำให้มีผลต่อhemodynamic หรือหัวใจไม่สามารถสูบฉีดเลือดได้อย่างเพียงพอกับความต้องการของร่างกาย
สาเหตุและปัจจัยเสี่ยง
Abnormal loading condition
เป็นภาระที่หัวใจต้องรับภาระหนักอย่างผิดปกติ*pressure load/ volume overload
Abnormal muscle functionเป็นภาวะที่กล้ามเนื้อหัวใจทำหน้าที่ผิดปกติ*cardiomyopathy
Limited ventricular filling
เป็นความจำกัดในการคลายตัวรับเลือดของ ventricle* hypertrophic obstructive cardiomyopathy
สาเหตุและปัจจัยเสี่ยง
สาเหตุและปัจจัยที่มีผลจาก
โรคและภาวะต่างๆดังนี้
ACS; MI
ความดันโลหิตสูง
ลิ้นหัวใจผิดปกติ (VHD)
Dilated cardiomyopathy (DCM)
หัวใจพิการแต่กำเนิด
โรคอ้วน เบาหวาน
หยุดหายใจขณะหลับ (sleep apnea)
ยาที่มีพิษต่อกล้ามเนื้อหัวใจ
Right ventricular pacing
โลหิตจาง ติดเชื้อ ตั้งครรภ์
Specific cardiomyopathy
alcohol cardiomyopathy
atrial fibrillation induced cardiomyopathy
diabetes cardiomyopathy (ischemia)
ชนิดของภาวะหัวใจล้มเหลว
ชนิดหัวใจล้มเหลวในการบีบตัว และหัวใจล้มเหลวในการคลายตัว
systolic heart failure
diastolic heart failure
ชนิดหัวใจล้มเหลวข้างซ้ายและข้างขวา
Left ventricle และ Right ventricle failure
ชนิดหัวใจล้มเหลวเฉียบพลันและเรื้อรัง
Acute & Chronic heart failure
การจำแนกระดับความรุนแรงและอาการ
NYHA CLASSIFICATION
CLASS Iทำกิจกรรมได้ไม่เกิดอาการเหนื่อย หรือเจ็บหน้าอก
CLASS IIมีความจำกัดในการทำกิจกรรม เหนื่อยแต่พักแล้วหาย
CLASS IIIมีขีดจำกัดในการทำกิจกรรมชัดเจน รู้สึกสบายในขณะพัก
CLASS IVไม่สามารถทำกิจกรรมต่าง ๆ ได้มีอาการเหนื่อยล้าใจสั่น
AHA/ACC guidelines
STAGE Aผู้ป่วยมีปัจจัยเสี่ยงสูง ครอบครัวมีประวัติ
STAGE Bมีโรคหัวใจที่เกี่ยวกับโครงสร้าง ไม่มีอาการแสดง
STAGE Cมีโรคหัวใจที่เกี่ยวกับโครงสร้าง มีอาการแสดง
STAGE Dระยะสุดท้ายไม่ตอบสนองกับการรักษา มีอาการขณะพัก
การวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย, CxR เพื่อดูขนาดของหัวใจหัวใจจะโตจากกลไก
การปรับตัว และการมีน้ำคั่งในปอด
การตรวจทางห้องปฏิบัติการเพื่อแยกโรค ปัจจุบันมีการการตรวจเลือดเฉพาะของภาวะหัวใจล้มเหลว โดยตรวจหา Serum BNP
ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจเพื่อหาภาวะแทรกซ้อนจากภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ
การรักษา
แก้ไขสาเหตุโดยตรงที่ทำให้เกิดภาวะหัวใจล้มเหลว
ขจัดสาเหตุส่งเสริม เช่น ต่อมไธรอยด์เป็นพิษ โลหิตจาง การติดเชื้อ
ลดการทำงานของหัวใจลง
จำกัดกิจกรรมต่างๆ
ลด peload
ลด after load
ลดการคั่งของน้ำและเกลือ
เพิ่มปริมาณเลือดออกจากหัวใจ
การพยาบาล
ลดความต้องการใช้ออกซิเจนของร่างกายให้หัวใจทำงานลดลง โดยให้นอนพักบนเตียง
ออกซิเจน
ให้นั่งหรือนอนศีรษะสูง
เพิ่มประสิทธิภาพในการบีบตัวของหัวใจ โดยดูแลผู้ป่วยให้รับยากลุ่มไดจิตาลิส ตามแผนการรักษา และระวังพิษของยา
ดูแลให้ได้รับยาเพิ่มความดันโลหิตยาขยายหลอดเลือดตามแผนการรักษาของแพทย์
เฝ้าระวังอาการที่ผิดปกติ โดยวัดสัญญาณชีพ การสังเกตอาการหอบเหนื่อย บวม ตามร่างกายว่าเพิ่มขึ้นหรือลดลง ไม่ควรลดบวมด้วยการยกขาสูง การชั่งน้ำหนักทุกวัน
ลดการคั่งของน้ำในร่างกาย
ประคับประคองทางด้านจิตใจ ให้กำลังใจ ให้ความมั่นใจ ให้ข้อมูลเกี่ยวกับโรค การรักษาพยาบาลให้ความรู้ในการปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันการเกิดอาการซ้ำๆ และต้องมาโรงพยาบาลบ่อยขึ้น
นางสาวภัณฑิลา บัวลาด เลขที่66 62111301068