Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวคิดการบำบัดรักษาทางจิตเวช - Coggle Diagram
แนวคิดการบำบัดรักษาทางจิตเวช
การรักษาด้วยไฟฟ้า
อาการแทรกซ้อน
ความจําเสื่อมชั่วระยะหนึ่ง (impair of memory)
กระดูกหักและมีการเคลื่อนของข้อต่อต่างๆ
หยุดหายใจนาน (Apnea)
อาการปวดศีรษะ ปวดหลัง ปวดกล้ามเนื้อในระยะ 2-3 วัน
กล้ามเนื้อรอบกล่องเสียงหดเกร็ง (Laryngeal spasm)
หลักการพยาบาลผู้ป่วย
รวบรวมข้อมูล: ผลการตรวจต่างๆ ประวัติแพ้ยา ประเมินความรู้สึก อารมณ์ ความเข้าใจ ใบเซ็นยินยอม
การวินิจฉัยทางการพยาบาล
การวางแผนปฏิบัติการพยาบาล
ก่อนทำ
เตรียมผู้ป่วยเหมือนเตรียมผ่าตัด เน้นเครื่องประดับโลหะให้เอาออก
บอกให้ทราบ ข้อดี-ข้อเสียในการรักษา ประเมินสภาพจิตใจ
การเตรียมสถานที่ เครื่องมือเครื่องใช้ ตรวจสอบความพร้อม
ขณะทำ
จัดท่านอนหงายราบ พยาบาลบันทึก HR, BP, คาดแผ่น electrodes ใส่แผ่นยาง ช่วยจับแขนขาผู้ป่วยขนาดส่งกระแสไฟฟ้า ให้ oxygen V/S ระวังภาวะแทรกซ้อน
หลังทำ
วัด V/S การสำลักเสมหะน้ำลาย ดูแลความสะอาดร่างกาย ระวังอุบัติเหตุ รายที่มีอาการสับสน มึนงง คลื่นไส้ อาเจียน อาการจะค่อยๆดีขึ้น สังเกตอาการเปลี่ยนแปลง
การประเมินผล
ประเมินอาการเปลี่ยนแปลง ภาวะแทรกซ้อน พูดคุยถึงความรู้สึก
แนวคิด
ผู้ป่วยที่อาการเศร้าทุกชนิดและเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย
ผู้ป่วยโรคจิตเภทชนิดที่คลังหรือซึมเฉย (Catatonic Schizophrenia)
โรคจิตในวัยเสื่อมในระยะเศร้า
โรคความผิดปกติของอารมณ์ทั้งในระยะสั้นและระยะเศร้า
อาการทางจิตเวชอื่นๆที่รักษาด้วยวิธีอื่นๆไม่ได้ผล
การบำบัดด้วยยาทางจิตเวช
ยารักษาโรคจิต (antipsychotic drugs)
ผู้หญิง นมคัด หลั่งน้ำนม ประจำเดือนลด ความต้องการทางเพศลด
ผู้ชาย นมโต หลังอสุจิลดลง
ปากแห้ง ตาพร่า ปัสสาวะลำบาก ท้องผูก
ลมพิษ ผิวหนังอักเสบ
ติดเชื้อง่าย มีไข้
หิวบ่อย กินจุ น้ำหนักเพิ่ม
ยาลดอาการข้างเคียงของยาทางจิตเวช (anticolinergic drugs)
ปากแห้ง ตาพร่า ท้องผูก อาจมีปัสสาวะลำบากในผู้สูงอายุ
คลื่นไส้ ปั่นป่วนในท้อง
สับสนไม่รู้วัน เวลา สถานที่ หรือแสดงอาการทางจิต
ยาคลายกังวล (antianxiety drugs)
ง่วงนอน
ทำให้เกิดอาการติดยาและดื้อยาได้
เดินเซ
หลงลืมเหตุการณ์ช่วงใกล้ๆที่เกิดขึ้นก่อนการใช้ยา
ยารักษาอาการซึมเศร้า (antidepressant drugs)
ง่วงซึม
ปากแห้ง
ท้องผูก
นอนไม่หลับ
ยารักษาอาการชัก (anticonvulsant drugs)
อาจมีอาการเหงือกบวม คลื่นไส้ ผื่นแดง ง่วง มึนงง ซึม ตาพร่า กล้ามเนื้ออ่อนแรง
ยาควบคุมอารมณ์ (mood stabilizing drugs)
Late side effect
กระหายน้ำและมีปัสสาวะออกมากกว่าระยะแรก
อาการมือสั่น
บวมและมีน้ำหนักตัวเพิ่มมากขึ้น
อาจมีภาวะแทรกซ้อนของ hypothyroidism หรือ Goiter
Leukocytosis
หัวใจเต้นผิดจังหวะ
Early side effect
มือสั่น โดยเฉพาะเวลาเขียนหนังสือ
คลื่นไส้ อาเจียน เบื่ออาหาร ปวดท้อง ท้องเสีย
กล้ามเนื้ออ่อนแรงและอ่อนเพลีย
ปากแห้ง กระหายน้ำ
การจัดการในภาวะวิกฤตและฉุกเฉิน
แนวคิดของภาวะวิกฤตทางอารมณ์และปัจจัยที่ทำให้เกิด
วิธีการช่วยเหลือและการพยาบาล
การบำบัดด้วยสิ่งแวดล้อม
บทบาทของพยาบาลในการจัดสิ่งแวดล้อมบำบัด
จัดเตรียมสิ่งแวดล้อมที่ปลอดภัยทั้งทางร่างกายและจิตใจ
ส่งเสริมให้ผู้ป่วยดูแลตนเอง
เป็นผู้นำกลุ่มกิจกรรมบำบัด
ให้ความรู้แก่ผู้ป่วย
ประสานความร่วมมือระหว่างผู้ป่วยบุคลากรในทีมวิชาชีพระยะผู้ป่วย
ประเมินผลการจัดสิ่งแวดล้อมเพื่อการบำบัด
หลักการและแนวทางในการจำกัดพฤติกรรม (setting limits)
การผูกมัดเจ้าหน้าที่ 1 คนต้องพยายามพูดให้ผู้ป่วยสนใจเพลิดเพลินเมื่อผู้ป่วยเผลอเจ้าหน้าที่ 2 คนจะจับแขนผู้ป่วยไว้คนละข้างและนำผู้ป่วยไปไว้ในห้องพักที่เตรียมไว้กรณีที่ผู้ป่วยไม่ยอมต้องให้เจ้าหน้าที่อีก 2 คนยกตัวผู้ป่วยขึ้นให้เท้าลอยจากพื้นและถูกยกตัวผู้ป่วย
การใช้ยาและการจำกัดขอบเขตแพทย์อาจให้ฉีดยาเพื่อให้ผู้ป่วยสงบก่อนนําผู้ป่วยเข้าห้อง
แนวคิด หลักการและกิจกรรมในสิ่งแวดล้อมบำบัด
อาศัยหลักของการเรียนรู้ (learning theory) และกิจกรรมบำบัด (behavior therapy) โดยเชื่อว่ามนุษย์เราเป็นสัตว์ประเสริฐสามารถที่จะเรียนรู้และมีความพยายามที่จะปรับตัวเองให้เข้ากับสิ่งแวดล้อม สิ่งแวดล้อมมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมมนุษย์ ถ้าจัดสิ่งแวดล้อมให้ดีก็จะโน้มน้าวให้พฤติกรรมมนุษย์เป็นไปในทางที่ดี ถ้าทำสถานที่และบรรยากาศให้น่าอยู่มีกิจกรรมให้ผู้ป่วยอยากเข้าร่วมกลุ่ม มีการกระตุ้นให้แสดงออก เกิดความภาคภูมิใจได้รับการเรียนรู้มีแบบอย่างที่ดีจงใจให้เรียนแบบ ก็จะทำให้ความคิดอารมณ์และพฤติกรรมของผู้ป่วยดีขึ้น
การจัดกลุ่มกิจกรรมบำบัด
กลุ่มชุมชนบําบัด เป็นการประชุมร่วมกันของผู้ป่วยและบุคลากรในที่เกี่ยวกับการอยู่ร่วมกันในหอผู้ป่วย
อาชีวบําบัด เป็นกลุ่มที่ให้ผู้ป่วยได้ทำงานอาจเป็นงานอาชีพก็ได้
นันทนาการบำบัด เป็นการจัดกิจกรรมบันทึกให้ผู้ป่วยได้รับความสนุกสนานเพลิดเพลินเพื่อการพักผ่อนหย่อนใจ
กลุ่มการศึกษา เป็นการให้โอกาสผู้ป่วยได้รับความรู้ได้รับข่าวสาร
สังคมสังสรรค์ เป็นการจัดให้ผู้ป่วยได้เรียนรู้และฝึกทักษะในการเข้าสังคม
กลุ่มเสริมแรงจูงใจ เป็นกิจกรรมที่มุ่งฟื้นฟูสมรรถภาพของผู้ป่วย
ดนตรีบำบัด เป็นการบำบัดรักษาโดยใช้ดนตรีเป็นสื่อ
กระบวนการและเทคนิคการให้คำปรึกษาปัญหาสุขภาพจิต
แนวคิดการบำบัดทางจิต
บทบาทของพยาบาล
กลุ่ม
รักษาความแปรปรวนทางจิตใจ และพฤติกรรมอย่างหนึ่ง โดยอาศัยอิทธิพลของกระบวนการกลุ่มหรือกลไกกลุ่ม โดยเน้นสัมพันธภาพระหว่างบุคคลช่วยให้เกิดการเรียนรู้ความไว้วางใจ ความซื่อสัตย์การให้และรับความคิดเห็นอย่างเปิดเผย
ครอบครัว
วิธีการรักษาสมาชิกในครอบครัวที่มีปัญหาทางจิตใจ โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อให้การกระทำหน้าที่ในครอบครัวทั่วๆไปดีขึ้น
บทบาทของพยาบาล
ติดต่อญาติ นัดวัน เวลา สถานที่
จัดสถานที่ในการทำกลุ่มที่เงียบสงบเป็นส่วนตัว
เยี่ยมครอบครัวเพื่อสังเกตสภาพแวดล้อม บรรยากาศของครอบครัว
อาจเป็น Leader หรือ Co-leader
บันทึกพฤติกรรมของสมาชิกที่แสดงออกในขณะอยู่ในกลุ่ม
รายบุคคล
จิตวิเคราะห์ (psychoanalysis) เป็นการรักษาทางจิตที่เน้นบทบาทของแรงในจิตใต้สำนึกในโรคประสาทซึ่งสามารถพิสูจน์ได้จากการสะกดจิตปรากฏการณ์บางอย่าง
จิตบำบัดแบบหยั่งเห็น (insight psycho therapy) มุ้งบำบัดอาการของผู้ป่วยให้เกิดการรู้แจ้งเห็นจริงต่อความขัดแย้งของจิตใจในระดับจิตใต้สำนึก
จิตบำบัดแบบประคับประคอง (supportive psychotherapy) เป็นจิตบำบัดที่มุ่งส่งเสริมปรับปรุงกลไกการป้องกันทางจิต (defense mechanism)
การสะกดจิต (Hypnosis) คือการทำให้เกิดความผิดปกติในการรู้สึกตัวคล้ายการนอนหลับแต่ไม่ใช่การนอนหลับ ขณะถูกสะกดจิตผู้ป่วยจะมีสมาธิสูง