Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช - Coggle Diagram
แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช
ทฤษฎีทางการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช
ทฤษฎีทางชีวภาพทางการแพทย์
ทฤษฎีนี้มีความเชื่อว่าความเจ็บปวดทางจิตมีสาเหตุมาจากพยาธิสภาพของสมอง
การรักษาทำแนวคิดทฤษฎีทางชีววิทยาทางการแพทย์มีรูปแบบเช่นเดียวกับการรักษาโรคฝ่ายกาย เช่น การรักษาด้วยยา การรักษาด้วยไฟฟ้า การพัฒนาสมองเพื่อลดอาการทางจิตต่างๆ
ทฤษฎีมนุษยนิยม
ตัวตนของบุคคล 3 แบบ
ideal self ตัวตนตามอุดมคติ
Real self ตัวตนตามที่เป็นจริง
Self concept ตัวตนที่ตนมองเห็น
โรเจอร์
การนำไปใช้ เคารพผู้ป่วยในฐานะบุคคล เคารพในสิทธิและเสรีภาพของผู้ป่วย ความตระหนักในตนเองของพยาบาล
มาสโลว์
บุคคลที่ไม่สามารถพัฒนาบุคลิกภาพได้ เนื่องจากไม่ได้รับการตอบสนองที่เหมาะสม
เชื่อว่าธรรมชาติของมนุษย์เกิดมาดีและพร้อมที่จะทำสิ่งดีซึ่งความต้องการมนุษย์มี 7 ขั้น
กลุ่มปรัชญา humanistic
ทฤษฎีทางพฤติกรรมนิยม
เชื่อว่าพฤติกรรมเกิดจากการเรียนรู้ไม่ใช่เกิดจากแรงผลักดันภายใน
การบำบัดตามแนวคิดนี้ คือ ควบคุมพฤติกรรมของผู้ป่วย ช่วยผู้ป่วยอยู่บนความเป็นจริง ปฏิบัติตามเป้าหมายของมาตรฐานทางสังคมเพื่อให้เกิดพฤติกรรมที่ถูกต้องลดพฤติกรรมที่ไม่ถูกต้อง
ทฤษฎีการพยาบาล
Roy's
เน้นการทำงานในร่างกายทั้งภายในและภายนอกอย่างมีระบบ มีระบบย่อยในระบบใหญ่มีการปรับตัวให้คงสภาวะสมดุล
Orem
สนับสนุนผู้ที่มีปัญหาสุขภาพให้สามารถดูแลตนเองให้สมบูรณ์ โดยใช้ศาสตร์และศิลป์รวมทั้งเทคโนโลยีในการดูแลช่วยเหลือ
Peplau's
การสร้างสัมพันธภาพที่แน่นอนระหว่างบุคคลที่จะสามารถทำให้บุคคลเกิดการเรียนรู้และมีประสบการณ์ที่กว้างไกล
ทฤษฎีจิตวิเคราะห์
สัมพันธภาพระหว่างบุคคล
ซัลลิแวน
การประยุกต์ใช้ให้ผู้ป่วยได้มีประสบการณ์ในด้านสัมพันธภาพอย่างถูกต้องกับผู้บำบัดก่อนผู้บำบัดจะต้องสร้างความจริงใจเชื่อถือได้ให้กับผู้ป่วย
พฤติกรรมและบุคลิกภาพของมนุษย์เป็นผลมาจากสัมพันธภาพระหว่างบุคคลเท่านั้นความสัมพันธ์ระหว่างแม่กับลูกเป็นจุดเริ่มต้นของความอบอุ่นทางใจ
จิตสังคม
อีริคสัน
แบ่งพัฒนาการทางสังคมของบุคคลวัย 8 ขั้นกล่าวถึงพัฒนาการที่สมบูรณ์และไม่สมบูรณ์
การประยุกต์ใช้ให้ความรู้กับผู้ที่เลี้ยงดูหรือผู้ที่เกี่ยวข้องในการตอบสนองความต้องการทางสังคมให้กับผู้รับบริการได้อย่างเหมาะสม
จิตวิเคราะห์
ซิกมันด์ฟรอยด์
ซิกมันด์ฟรอยด์แบ่งเป็นพัฒนาการทางบุคลิกภาพ 5 ขั้นแก้ไขข้อขัดแย้งภายในจิตใจที่อยู่ในระดับจิตไร้สำนึก
การประยุกต์ใช้ทางจิตเวชคือพยาบาลจิตเวชไม่มีบทบาทโดยตรงในการรักษาแต่มีบทบาทในการสนับสนุนช่วยให้ผู้ป่วยและญาติเข้าใจในปัญหาและวิธีการรักษาที่ได้รับ
แนวคิดเกี่ยวกับสุขภาพจิตและความผิดปกติทางจิต
ลักษณะสำคัญและเกณฑ์การจำแนกโรคทางจิตเวชที่พบได้บ่อย
ลักษณะสำคัญของการจำแนก
บอกลักษณะสำคัญของโรค
กลุ่มหรือชนิดของโรค
เกณฑ์การจำแนกโรคที่พบบ่อย
WHO ใช้ ICD-10 เป็นมาตรฐานเดียวกันในระดับนานาชาติ
DSM โดย APA (สมาคมจิตแพทย์อเมริกัน)ปัจจุบันใช้ DSM-V
องค์ประกอบของผู้มีสุขภาพจิตดี/ผู้มีความผิดปกติทางจิตและปัจจัยที่มีผลกระทบต่อภาวะสุขภาพจิต
องค์ประกอบของผู้มีสุขภาพจิตดี
ก.ความรู้สึกต่อตนเอง
แก้ไขปัญหาต่างๆได้
ไม่เกิดอารมณ์ โกรธ กลัว กังวล
ควบคุมความผิดหวังได้
ข.ความรู้สึกกับผู้อื่น
ให้ความรักแก่ผู้อื่น
ไว้วางใจไม่หวาดระแวงผู้อื่น
ไม่ผลักดันให้ผู้อื่นตามใจตนเอง
ลักษณะของผู้ที่มีสุขภาพจิตไม่ดี
บุคลิกบกพร่อง เช่น ชอบเก็บตัว
ไม่สามารถปรับตัวให้อยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข
มีความผิดปกติด้านพฤติกรรม เช่น ชอบทะเลาะวิวาท
ค.ความสามารถในการดำเนินชีวิต
แก้ไขปัญหาในชีวิตได้ดี
รับผิดชอบหน้าที่ตนเอง
ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อสุขภาพจิตของบุคคล
ปัจจัยด้านร่างกายหรือด้านชีวภาพ
สภาพร่างกาย เช่น รูปร่างหน้าตา ขี้เหร่ พิการ
ชีวเคมีสารเคมีในสมองที่ร่างกายผลิตขึ้นมา เช่น Acetylcholine, Serotonin
พันธุกรรม เช่น พ่อแม่มีลักษณะนิสัยเช่นใด ลูกจะมีลักษณะเช่นนั้นด้วย
กายวิภาคและสรีรวิทยาของระบบประสาท
ฮอร์โมนส่งผลต่อพฤติกรรมการแสดงออกและการเกิดอารมณ์ของบุคคล เช่น Estrogen, Progesterone
ปัจจัยด้านจิตใจ
ตามทฤษฎีจิตวิเคราะห์ ขั้นตอนเกิดปมปัญหาจะส่งผลต่อบุคลิกภาพ
ทฤษฎีสัมพันธภาพระหว่างบุคคลของซัลลิแวน จำเป็นต้องมีสัมพันธภาพกับบุคคลอื่นแต่ถ้าไม่ได้รับการยอมรับจะเกิดความวิตกกังวลคิดว่า"ตนไม่ดี"หรือ"ฉันไม่ดี"
ทฤษฎีพฤติกรรมนิยม ถ้าเรียนรู้ไม่เหมาะสมก็จะส่งผลต่อสุขภาพจิตได้
ทฤษฎีมนุษยนิยม หากไม่ได้รับการยอมรับในความสามารถที่มีก็จะรู้สึกว่าตนไม่มีคุณค่า
ปัจจัยด้านสังคมวัฒนธรรมหรือสิ่งแวดล้อม
ลักษณะสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ ได้แก่ ที่อยู่อาศัย ความหนาแน่น
วัฒนธรรมและเชื้อชาติ
ปัจจัยทางครอบครัว
อบรมเลี้ยงดูแบบประชาธิปไตย
อบรมเลี้ยงดูแบบเผด็จการ (authoritarian)
อบรมแบบปล่อยปละละเลยหรือทอดทิ้ง (Rejection)
อบรมแบบทะนุถนอม
ปัจจัยทางการเมือง
ส่งผลต่อสภาพจิตใจของประชา
ปัจจัยทางจิตวิญญาณ
ลางสังหรณ์ เป็นความรู้สึกพิเศษเหนือธรรมชาติ
สิ่งที่นับถือที่พึ่งทางใจ
ปรัชญาชีวิต
หลักการสัมภาษณ์ประวัติทางจิตเวช วิธีการตรวจและประเมินสภาพจิตเบื้องต้น
วิธีการตรวจและประเมินสภาพจิตเบื้องต้น
ลักษณะทั่วไป
สภาวะอารมณ์ (emotion status)
การรับรู้ (perception)
ลักษณะการพูดการใช้ภาษา
ความคิดและการคิด
ประเมินการรับรู้ตนเองและสิ่งแวดล้อม
การตัดสินใจ (judgment)
การหยั่งรู้สภาพความเจ็บป่วย
สัมภาษณ์ประวัติทางจิตเวช
ประวัติส่วนตัว
อาการสำคัญ
ประวัติปัจจุบัน
ประวัติพัฒนาการ
ประวัติการเจ็บป่วยในครอบครัว
ประวัติเกี่ยวกับบ้านและครอบครัว
ลักษณะบ้าน
ครอบครัวประกอบด้วยใครบ้าง
อาชีพ ระดับการศึกษา ค่านิยม
ปัญหาที่บ้าน
ผู้ป่วยชอบไปสถานศึกษาหรือไม่
ผู้ป่วยชอบไปสถานศึกษาหรือไม่
ปัญหากับเพื่อนปะทะกับครู
ตรวจร่างกาย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
Head to toes
ลักษณะทั่วไป
วัดสัญญาณชีพ