Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เครื่องมือในการบำบัดทางการพยาบาลจิตเวช - Coggle Diagram
เครื่องมือในการบำบัดทางการพยาบาลจิตเวช
การตระหนักรู้ในตนเอง และการใช้ตนเองเพื่อการบำบัด
การตระหนักรู้ในตนเอง
การใช้ตนเองเพื่อการบำบัด
อัตมโนทัศน์ (self-concept)
ด้านการยอมรับนับถือตนเอง
รู้สึกนึกคิดเกี่ยวกับตนเองในคุณค่าหลายๆด้านที่ตนเองมีอยู่
ส่วนบุคคล
การรับรู้ของบุคคลเกี่ยวกับคุณค่าของตนเอง
ด้านร่างกาย
ความสามารถในการควบคุมการทำหน้าที่ของร่างกาย
ความสามารถในการทำหน้าที่ของร่างกาย
การตระหนักรู้ในตนเอง (self-awareness)
บุคคลรู้สึกตัวหรือรู้สติในความเป็นตัวเอง และสิ่งแวดล้อมในตัวขณะนั้น
อัตตา (self)
ค่านิยม
ความรู้สึกนึกคิด
พฤติกรรม
ร่างกาย
เงื่อนไขที่สำคัญในการสร้างสัมพันธภาพเพื่อการบำบัด หลักการและขั้นตอนการสร้างสัมพันธภาพเพื่อการบำบัด
Pre Orientation Phase
Orientation Phase
Working Phase
Terminating Phase
เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยแสดงความคิดเห็น
ช่วยให้ผู้ป่วยเห็นคุณค่าและภาคภูมิใจในการใช้ชีวิต
ให้ข้อมูล
อธิบายว่าการยุติความสัมพันธภาพไม่ได้หมายความว่าจะพบกันไม่ได้อีก
ร่วมค้นหาวิธีการจัดการ โดยให้ผู้ป่วยเลือกเอง เราเป็น Facilitator
ช่วยให้ผู้ป่วยมีทางเลือก
วิเคราะห์แยกแยะ โดยปราศจากอคติ
ส่งเสริมคุณค่าในตนเอง
ร่วมผู้ป่วยค้นหาปัญหา สาเหตุ
กำหนดข้อตกลงของสัมพันธภาพ
สร้างความไว้วางใจ (Trust)
กล่าวทักทายด้วยท่าทีเป็นมิตร
ค้นหาหรือระบุปัญหาหรือความต้องการที่แท้จริงของผู้ป่วย
เตรียมสถานที่และสร้างบรรยากาศให้เกิดความไว้วางใจ
การตระหนักรู้ถึงเป้าหมายเป็นส่งสำคัญ
กำหนดเป้าหมายทั่วไปในการสร้างสัมพันธภาพ
สำรวจตนเองเพื่อให้เกิดความตระหนักรู้
รวบรวมข้อมูลที่จำเป็นเกี่ยวกับผู้ป่วย
เทคนิคการสื่อสารเพื่อการบำบัด
บอกสิ่งที่สังเกตเห็น (Making observations)
การขอคำอธิบาย (Seeking clarification and validation)
การกล่าวนำเพื่อให้ผู้ป่วยพูดต่อ (Offering general leads)
การเสนอตัวเพื่อช่วยเหลือ (Offering help)
การเน้นประโยคใดประโยคหนึ่ง (Focusing)
การแสดงน้ำเสียงสงสัย (Voicing doubt)
การกล่าวซ้ำหรือทวนซ้ำ (Restarting)
การเสนอความเป็นจริง (Presenting reality or confronting)
การใช้ภาษาที่ผู้ป่วยสามารถเข้าใจได้
การแสดงความเห็นอกเห็นใจ (Empathy)
การใช้คำถามปลายเปิด (Ask open-ended questions)
การสรุป (Summarizing)
การใช้คำพูดและภาษากายที่สอดคล้องกัน (be consistent verbally and nonverbally)
การเสนอตัวเพื่อช่วยเหลือผู้ป่วย (Offering self)
การใช้คำและน้ำเสียง (Tone and words)
การสังเกตทางกายของผู้รับบริการ (Observe nonverbal behavior)
การใช้ความเงียบ (Use silence)
การฟังอย่างตั้งใจและใส่ใจ (Listening actively)
การค้นหาข้อมูลหรือการสำรวจข้อมูล (Exploring)
การสะท้อนความรู้สึก (Reflection)
การแปลความ (Interpreting)
การใช้คำกล่าวกว้างๆเพื่อเปิดประเด็น (Giving broad opening)
การให้ข้อมูล (Giving information)
การแสดงการระลึกถึง จำได้ (Giving recognition)
การยอมรับ (Accepting or showing acceptance)
การให้แรงเสริมทางบวก (Positive reinforcement)
ปัญหาและการแก้ไขปัญหาในแต่ละขั้นตอนของการสร้างสัมพันธภาพ
Orientation Phase
ด้านผู้ป่วย
ปัญหายุ่งยากซับซ้อนเกินกว่าจะอธิบาย
การยอมรับความช่วยเหลือเป็นการแสดงถึงความอ่อนแอ
ให้การยอมรับและเข้าใจในพฤติกรรมผู้ป่วย ให้เวลา ให้ความเสมอต้นเสมอปลายและความอดทน
การเป็นคนแปลกหน้าซึ่งกันและกัน ซึ่งบางเรื่องอาจได้รับการรับรู้ว่าเป็นเรื่องส่วนตัว
แสดงการยอมรับในฐานะบุคคลอย่างไม่มีเงื่อนไข ให้การยอมรับและเข้าใจพฤติกรรมผู้ป่วย ให้เวลาและให้ความเสมอต้นเสมอปลายเพื่อพัฒนาความเชื่อถือไว้วางใจให้เกิดขึ้น
ด้านพยาบาล
ขาดความมั่นใจในการสนทนากับผู้ป่วย
เตรียมตัวให้พร้อมก่อนสร้างสัมพันธภาพและสร้างบรรยากาศผ่อนคลายในการสนทนา
ขาดทักษะในการสร้างสัมพันธภาพ
ขาดความมั่นใจว่าจะสามารถช่วยเหลือผู้ป่วยได้
มีทัศนคติว่าการสนทนาไม่ใช่หน้าที่ของพยาบาล
Working Phase
พยาบาลอึดอัดและกังวลใจ
เตรียมตัวให้พร้อม ยอมรับว่าความผิดพลาดเกิดขึ้นได้เสมอ รวมทั้งสำรวจตัวเองและควรตระหนักว่าปัญหาบางปัญหาไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้
พยาบาลไม่เข้าใจหรือไม่เห็นปัญหาของผู้ป่วย
รับฟังอย่างตั้งใจและเข้าอกเข้าใจ ซึ่งทำให้ผู้ป่วยรู้สึกสบายใจที่จะพูดถึง
พยาบาลเกิดความสงสาร
พยาบาลตระหนักตนเองว่าตอนนี้ทำอะไร มีผลอย่างไรต่อตนเองและผู้อื่น กำลังมีหน้าที่และบทบาทอะไรรวมทั้งต้องไวต่อการรับรู้ตนเองและเข้าใจสิ่งที่เกิดขึ้น
รู้สึกต่อต้าน
สะท้อนความรู้สึก การแสดงออก การยอมรับ และการส่งเสริมให้เกิดความรู้สึกมีคุณค่าในตัวเอง
ผู้ป่วยต้องการพึ่งพาพยาบาล
พยาบาลควรตระหนักถึงบทบาทและหน้าที่ของตนเองและของผู้ป่วย โดยพยาบาลนั้นเป็นผู้อำนวยให้ผู้ป่วยตระหนักถึงปัญหาของตนเองและแก้ไขปัญหาเหล่านั้น ตามศักยภาพของผู้ป่วย
Terminating Phase
ถดถอยเหมือนเด็กหรือเหมือนเมื่อเริ่มสัมพันธภาพ เพื่อให้ได้รับการเอาใจใส่เหมือนเดิม
เตรียมสิ้นสุดสัมพันธภาพเพื่อการบำบัดตั้งแต่วันแรก
ปฏิเสธการสิ้นสุดสัมพันธภาพ
ย้ำเตือนการสิ้นสุดสัมพันธภาพเป็นระยะ
ภาวะพึ่งพาจากการแยกจากทำให้ขาดความมั่นใจและความปลอดภัย
ตกลงและย้ำเตือนเป้าหมายในการมีสัมพันธภาพ
ก้าวร้าว เพื่อปกป้องตนเองไม่ให้รู้สึกถูกทอดทิ้ง
เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยได้สำรวจความรู้สึกของตนเองเกี่ยวกับการแยกจาก
ซึมเศร้าจากความรู้สึกถูกทอดทิ้ง ไม่มีคนสนใจ
แนะนำแหล่งสนับสนุนอื่นๆที่ผู้ป่วยสามารถรับบริการได้