Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่4 การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาทางโลหิตวิทยาและนีโอพลาสม - Coggle Diagram
บทที่4 การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาทางโลหิตวิทยาและนีโอพลาสม
อธิบายความหมายของโรค
บอกอาการ อาการแสดงการวินิจฉัยโรคและการรักษาโรค
อธิบายกระบวนการพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยเด็กที่มีปัญหาทางโลหิตวิทยา
อธิบายกระบวนการพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยเด็กที่มีปัญหาทางนีโอพลาสม
การพยาบาลในการดุแลผู้ป่วยเด็กที่มีปัญหาโลหิตวิทยา
โลหิตจาง (Anemia)
ภาวะโลหิตจางคือ ภาวะที่มีค่าฮีโมโกลบินต่ำกว่า 2 (standard deviation: SD) เมื่อเทียบกับค่าเฉลี่ย
ในเด็กปกติแต่ละช่วงอายุและเพศเดียวกัน
อาการและอาการแสดงของภาวะโลหิตจาง
อาการเฉพาะได้แก่ ผิวหนังซีดจะเห็นได้ชัดบริเวณริมฝีปาก เยื่อบุตา เล็บมือ ฝ่ามือ เหงือก ใบหูผู้ป่วยที่
มีตัวเหลืองร่วมด้วยหรือซีดไม่มากจะเห็นไม่ชัด
อาการที่เกิดจากเนื้อเยื่อระบบต่างๆได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอ
2.1 ระบบประสาท ปวดศีรษะ เวียนศีรษะ เป็นลม ง่วงนอนบ่อย เฉื่อยชา คิดช้า สมาธิสั้น ซึมเศร้า
2.2 ระบบทางเดินอาหารเบื่ออาหาร คลื่นไส้อาเจียน ท้องอืด อาหารไม่ย่อย ท้องผูกและหรือท้องเสีย
2.3 ระบบหัวใจและหลอดเลือด หัวใจเต้นแรง ชีพจรเร็ว ผิวหนังอุ่น เหนื่อยง่ายขณะออกแรง ( ต้องพักบ่อย
หายใจสั้น ดูดนมได้ไม่ดี )
ภาวะซีดแบ่งตามสาเหตุ 3 ชนิด คือ
1 ภาวะที่มีการสร้างเม็ดเลือดแดงลดลง
2 ภาวะที่มีการทำลายเม็ดเลือดแดงมากขึ้น (hemolysis)
3 การเสียเลือด
การวินิจฉัยโรค
การซักประวัติ
อายุและเวลาที่เริ่มแสดงอาการ (onset)
ตัวเหลืองในช่วงทารกแรกเกิด (hyperbilirubinemia in newborn period)
เพศ
การเสียเลือด (blood loss)
การติดเชื้อ (infection)
ปัสสาวะสีเข้ม (dark urine)
อุจจาระร่วง (diarrhea)
โภชนาการ (nutrition)
การใช้ยา (medication)
ประวัติโลหิตจางในครอบครัว (family history)
ประวัติการเจ็บป่วยอื่น ๆ
การตรวจร่างกาย
สัญญาณชีพ
การเจริญเติบโต
ลักษณะทั่วไป
ตา
ลิ้น
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
ใบหน้า
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
Complete blood count (CBC)
Red cell indices
2.1 Mean corpuscular volume (MCV)
2.2 Mean corpuscular hemoglobin (MCH)
2.3 Meancorpuscularhemoglobinconcentration (MCHC)
2.4 Red cell distribution width (RDW)
Blood smear
Wet preparation
4.1 Reticulocyte count
4.2 Heinz body คือ red cell inclusion
4.3 Inclusion body
การตรวจทางห้องปฏิบัติการอื่น ๆ ที่จำเพาะแต่ละโรค
5.1 Coombs’ test
Direct Coombs’ test
Indirect Coombs’ test
5.2 Hemoglobin typing และ DNA for α-thalassemia
5.3 การตรวจไขกระดูก (bonemarrow aspiration)
การรักษา
รักษาตามสาเหตุของภาวะโลหิตจาง แต่ละสาเหตุจะมียาและวิธีการรักษาเฉพาะที่แตกต่างกัน การวิเคราะห์
เพื่อทราบสาเหตุที่แท้จริงจึงสำคัญ
การให้เลือดจะให้เฉพาะรายที่จ าเป็น โดยหลีกเลี่ยงอันตรายจากการให้เลือด จึงมักจะให้เม็ดเลือดแดงเข้มข้น(packed red cell) มากกว่าการให้เลือดครบส่วน (whole blood) การให้ PRC 10 มล/กก/ครั้ง จะเพิ่ม Hct ได้ 3-4 gm %หรือเพิ่ม Hb 10 -12 %
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลที่1 มีภาวะเนื้อเยื่อในร่างกายพร่องออกซิเจนจากภาวะซีด
เป้าหมายการพยาบาล
ไม่มีภาวะเนื้อเยื่อในร่างกายพร่องออกซิเจน
เกณฑ์การประเมินผล
ไม่มีอาการหอบเหนื่อย เขียวตามปลายมือปลายเท้า
สัณญาณชีพปกติตามวัย
กิจกรรมการพยาบาล
ดูแลให้พักผ่อนและกำหนดกิจกรรมที่ผู้ป่วยทำได้ตามความรุนแรงของภาวะซีด เพื่อลดความ
ต้องการการใช้ออกซิเจนในร่างกาย
ดูแลให้ได้รับอาหารที่จำเป็นต่อการสร้างเม็ดเลือดแดง เช่น ธาตุเหล็ก โปรตีน วิตามินซี โฟลิอามีน และเป็น
อาหารอ่อน ย่อยง่าย
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลที่2 ผู้ป่วยเด็กและบิดามารดา/ ผู้เลี้ยงดูอาจขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะซีด
และการปฏิบัติตน
เป้าหมายการพยาบาล
มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะซีด และการปฏิบัติตนเมื่อมีภาวะซีด
เกณฑ์การประเมินผล
อธิบายสาเหตุ อาการ ของภาวะซีดได้อย่างถูกต้อง
อธิบายการปฏิบัติตนเพื่อป้องกันการกลับเป็นซ้ำ และภาวะแทรกซ้อนของภาวะซีดได้อย่างถูกต้อง
กิจกรรมการพยาบาล
อธิบายให้ผู้ป่วยเด็กและบิดามารดา/ ผู้เลี้ยงดู เข้าใจเรื่องของโรค สาเหตุ อาการ แผนการรักษา และวิธีการ
ควบคุมโรค
ให้คำแนะนำเกี่ยวกับการปฏิบัติตนในเรื่องการป้องกันการติดเชื้อ
โรคโลหิตจางธาลัสซีเมีย (Thalassemia)
สาเหตุ
เกิดจากความผิดปกติของยีนที่ควบคุมการสร้างเส้นโพลีเพปไทด์ที่ประกอบกันเป็นฮีโมโกลบิน ยีนที่ผิดปกตินี้
ถ่ายทอดทางพันธุกรรมแบบ autosomal recessive
พยาธิสภาพของโรค
เมื่อเกิดความผิดปกติของยีนในการสร้างสายโกลบินชนิดใดชนิดหนึ่งลดลงหรือสร้างไม่ได้เลย โดยเฉพาะอัลฟ่าและเบต้า ซึ่งเป็นโปรตีนที่เป็นองค์ประกอบสำคัญในโมเลกุลของ Hb A ถ้ามีการสร้างสายอัลฟ่าโกลบินลดลงเรียกอัลฟ่าธาลัสซีเมีย (α -thalassemia) ถ้าสร้างสายเบต้าโกลบินลดลงเรียก เบต้าธาลัสซีเมีย (B -thalassemia) ทำให้สายโกลบินที่จับกันเอง
ชนิดของธาลัสซีเมีย
Hb Bart’shydrops fetalis หรือ Homozygous α-thalassemia
Homozygous β-thalassemia (β-thal /β-thal)
Hb H disease (α-thal 1 /α-thal 2 หรือ - - / -α, or α-thal 1 / Hb CS หรือ - - /αCSα)
การวินิจฉัยโรค
การซักประวัติ ได้แก่ ประวัติการซีดเรื้อรัง ประวัติครอบครัว
การตรวจร่างกายอาการที่มักตรวจพบ ได้แก่ อาการซีด ตับ ม้ามโต เหลือง ใบหน้าแบบ thalassemia เป็นต้น
การรักษา
การให้เลือด
1.1 ผู้ป่วยธาลัสซีเมียชนิดไม่พึ่งพาเลือด
1.2 ผู้ป่วยธาลัสซีเมียชนิดพึ่งพาเลือด
1) การให้เลือดแบบประคับประคองในระดับต่ำ
2) การให้เลือดแบบเต็มที่ในระดับสูง
3) การให้เลือดในกรณีพิเศษ
การให้ยาขับเหล็ก
2.1 ผู้ป่วยเด็กอายุ 2-6 ปีDesferrioxamine หรือ Deferoxamine (DesferalR) 20-40 มก./กก./วัน (1 ขวด
ผู้ป่วยอายุมากกว่า 6 ปี
2.1 Deferoxamine (DesferalR ) 20-40 มก./กก./วัน ฉีดเข้าใต้ผิวหนังนาน 8-12 ชั่วโมง 5-6 วัน/สัปดาห์ ให้
วิตามินซีไม่เกิน 2-3 มก./กก./วัน. ก่อนให้Deferoxamine เพื่อช่วยให้ขับธาตุเหล็กดีขึ้น
2.2 Deferiprone (GPOL1® ) 75มก./กก./วัน แบ่งให้3 เวลา หลังอาหาร (เริ่มต้นขนาด 50 มก./ กก./วัน ถ้าไม่มีอาการข้างเคียงให้เพิ่มขนาดยา) หากการรักษาไม่ได้ผลดีอาจเพิ่มจนถึง 90 หรือ 100 มก./กก./วัน แบ่งให้3 เวลาหลังอาหาร
2.3 หากไม่สามารถให้Deferoxamine หรือ Deferiproneได้หรือให้แล้วไม่ได้ผล ควรให้Deferasirox 20-40
มก./กก./วัน ผสมน ้าส้ม หรือน ้าแอปเปิ้ล ดื่มวันละครั้งก่อนอาหารเช้าหรือเย็นครึ่งชั่วโมง ควรให้เวลาเดียวกันในแต่ละวัน
2.4 อาจใช้ยา 2 ชนิดร่วม กันคือ Deferoxamine (DesferalR ) ซึ่งอาจลดจ านวนวันที่ต้องฉีดลงและDeferiprone (GPOL1® ) 50 มก./กก./วัน แบ่งให้3 เวลาหลังอาหารทุกวันอาจปรับขนาดเป็น 75 มก./ กก./วัน แบ่งให้3เวลาหลังอาหารตามการตอบสนองและผลการรักษา
3.ให้ยาบำรุง
ช่วยในการสร้างเม็ดเลือดแดง คือ กรดโฟลิค (folic acid) หรือ โฟเลต 1 mg./วัน หรือให้วิตามิน
รวมเสริม
การผ่าตัดม้าม (spleenectomy)
ข้อบ่งชี้ในการตัดม้าม
ม้ามโตมากจนเกิดอาการจากการกดเบียดอวัยวะหรือเสี่ยงต่อการแตกของม้าม
มีความต้องการเลือดมากกว่า 200-220 มล./กก./ป
มีเม็ดเลือดขาวและหรือเกล็ดเลือดต่ำ
ข้อปฏิบัติเมื่อต้องตัดม้ามและหลังตัดม้าม
ให้วัคซีนป้องกันเชื้อ Streptococcus pneumoniae, Hemophilusinfluenzaetype B (HIB) และ
Neisseria meningitides 2 สัปดาห์ก่อนตัดม้าม หรือ หลังตัดม้าม และให้ซ ้าทุก 3-5 ปี
อายุน้อยกว่า 2 ปีให้penicillin 125 มก./ครั้ง 2 ครั้ง เช้าเย็น อายุ2-5 ปีให้penicillin 250 มก./กก.เช้าเย็น
อายุมากกว่า 5 ปีให้ยาปฏิชีวนะต่อเนื่องทุกวัน 2 ปีหลังตัดม้ามการให้ยาปฏิชีวนะอาจขึ้นกับแพทย์ผู้รักษา
ให้รับวัคซีนเหมือนเด็กทั่วไปและแนะนำให้วัคซีนไข้หวัดใหญ่วัคซีนคุ้มกันไวรัสตับอักเสบเอ
ทุกปี
แนะนำให้low dose aspirin (80-160 มก./วัน) เพื่อป้องกันภาวะ thrombosis โดยเฉพาะเมื่อเกล็ดเลือด
มากกว่า 500,000/ลบ.มม. (เมื่อต้องท าหัตถการที่มีโอกาสท าให้เลือดออก ให้งด aspirin 7-10 วันก่อน)
การเปลี่ยนถ่ายไขกระดูกหรือการเปลี่ยนถ่ายเซลล์ต้น กำเนิดเม็ดเลือด
การเปลี่ยนยีน (gene therapy)
1 more item...
โรคฮีโมฟีเลีย (Hemophilia)
สาเหตุ
เกิดจากความผิดปกติของยีนที่ควบคุมการสร้างปัจจัยการแข็งตัวของเลือด ชนิดที่พบบ่อยในเด็กไทย
พยาธิสภาพ
ผู้ป่วยเด็กฮีโมฟีเลียขาดปัจจัยการแข็งตัวของเลือดซึ่งเป็นโปรตีนทีไหลเวียนอยู่ในกระแสเลือด ในภาวะปกติ เมื่อมีการฉีกขาดของหลอดเลือด
ความรุนแรงของโรคฮีโมฟีเลีย
ชนิดรุนแรงมาก มีระดับ แฟคเตอร์ 8 หรือ 9 น้อยกว่า1% ผู้ป่วยจะมีอาการเลือดออกในข้อหรือในกล้ามเนื้อ
เกิดขึ้นได้เองโดยไม่ได้รับอุบัติเหต
ชนิดรุนแรงปานกลาง มีระดับ แฟคเตอร์ 8 หรือ 9 1-5% ผู้ป่วยจะมีอาการเลือดออกในข้อหรือในกล้ามเนื้อ
เมื่อได้รับอุบัติเหตุเพียงเล็กน้อย หากไม่ได้รับการรักษาที่เหมาะสมก็จะทำให้มีข้อพิการได้เช่นเดียวกับชนิดรุนแรงมาก
ชนิดรุนแรงน้อย มีระดับ แฟคเตอร์ 8 หรือ 9 >5-40% ผู้ป่วยมักจะมีเลือดออกมากเมื่อได้รับภยันตรายที่
รุนแรง หรือได้รับการผ่าตัดหรือถอนฟัน
อาการและอาการแสดง
จ้ำเลือดใหญ่ๆ ตามลำตัวและแขนขา (large ecchymosis)
เลือดออกในข้อและในกล้ามเนื้อ เมื่อเริ่มหัดคลาน ตั้งไข่ หรือเดิน ข้อที่มักมีเลือดออกมากที่สุด
เลือดออกเมื่อฟันน้ำนมหลุด
การวินิจฉัย
การซักประวัติควรซักประวัติการมีเลือดออกง่ายหยุดยาก
การตรวจร่างกาย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ การทดสอบปัจจัยการแข็งตัวของเลือด
Venous clotting time (VCT)
Mixing venous clotting time
Coagulogram มีactivated partial thromboplastin time(APTT)
Factor assay
DNA analysis
การรักษา
การดูแลอย่างองค์รวม
1.1มีเครื่องหมายประจำตัวแสดงโรคฮีโมฟีเลียผู้ป่วยทุกคนควรจะมีบัตรประจำตัวผู้ป่วย
1.2ในวัยทารกและเด็กเล็ก จัดสิ่งแวดล้อมในบ้านที่ไม่เป็นอันตรายต่อผู้ป่วย หาของเล่นที่เหมาะสม
1.3 การฉีดยาป้องกันโรคผู้ปวยโรคฮีโมฟีเลียสามารถรับวัคซีนป้องกันโรคต่างๆเหมือนเด็กปกต
1.4 การออกกำลังกาย ผู้ป่วยโรคฮีโมฟีเลียต้องออกกำลังกายทุกวัน กีฬาที่เหมาะสม
การรักษาเฉพาะที่
2.1 ถ้ามีแผลเลือดออก
2.2 ถ้าเป็นแผลใหญ่ ให้ส่วนประกอบของเลือดหรือแฟคเตอร์เข้มข้นก่อนเย็บแผล
2.3 ถ้ามีก้อนเลือดออกขนาดใหญ่ หรือเลือดออกในข้อ ให้ใช้ประคบด้วยน ้าแข็ง ครั้งละ 15-30 นาทีทุก
2.4 ถ้าเลือดออกในข้อระยะแรก ใช้ผ้ายืดพิเศษ
การรักษาทดแทนด้วยแฟคเตอร์เข้มข้นหรือส่วนประกอบเลือด
3.1 ให้การรักษาทดแทนเมื่อมีอาการเลือดออก
3.2 ให้การรักษาทดแทนเมื่อเริ่มมีอาการเลือดออก ในรูปแบบของการรักษาที่บ้าน
3.3 ให้การรักษาแบบป้องกัน
การรักษาด้วย DDAVP
5.การดูแลสุขภาพฟัน
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลข้อวินิจฉัยการพยาบาลที่ 1 ผเู้ด็กเสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการมีเลือดออกในส่วนต่างๆ ของร่างกาย เช่น ภาวะช็อกจากการเสียเลือด การสูญเสียหน้าที่ของอวัยวะส่วนที่มีเลือดออก
เป้าหมายการพยาบาล
ไม่เกิดภาวะช็อกจากการเสียเลือดไม่เกิดการสูญเสียหน้าที่ของอวัยวะ
เกณฑ์การประเมินผล
สัญญาณชีพปกติตามวัย
ระดับความรู้สึกตัวไม่เปลี่ยนแปลง ข้อติดแข็ง
กิจกรรมการพยาบาล
ให้การพยาบาลด้วยความระมัดระวัง นุ่มนวล
หลีกเลี่ยงกิจกรรมที่อาจทำให้เกิดอุบัติเหตุหรือเลือดออก
ไม่ฉีดยาเข้ากล้ามเนื้อหรือใต้ผิวหนัง
การประเมินผล
ภายหลังให้การพยาบาล ประเมินผลตามเกณฑ์ที่กำหนด
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลที่ 2 มีโอกาสเกดิภาวะเนื้อเยื่อ พร่องออกซิเจนจากภาวะซีด
เป้าหมายทางการพยาบาล
ไม่เกิดภาวะเนื้อเยื่อพร่องออกซิเจน
เกณฑ์การประเมิน
สัญญาณชีพปกติตามวัย
ไม่มีอาการและอาการแสดงของภาวะเนื้อเยื่อพร่องออกซิเจน เช่น หายใจหอบเหนื่อย หรือหายใจล าบาก เยื่อบุตาซีด และอาการริมฝีปากเขียว เป็นต้น
ระดับฮีมาโตคริทปกติตามวัย
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมินภาวะซีดและภาวะออกซิเจนในกระแสเลือด เช่น เปลือกตา สีเล็บ และวัด ความเข้มข้นของออกซิเจน
ในเลือดทุก 4 ชั่วโมง จัดให้ผู้ป่ วยนอนในท่าศีรษะสูง เพื่อช่วยให้ปอด ขยายตัวได้ด
ดูแลให้ได้รับออกซิเจนตามแผนการรักษา
ดูแลให้ได้รับเลือดตามแผนการรักษาอย่างครบถ้วน และปลอดภัยจากภาวะแทรกซ้อน ที่อาจเกิดจากการ
ได้รับเลือด
การประเมินผล
ภายหลังให้การพยาบาล ประเมินผลตามเกณฑ์ที่กำหนด
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลที่ 3 มีความวติกกังวลเนื่องจากกลัวการให้เลือด
เป้าหมายทางการพยาบาล
ความวิตกกังวลลดลง
เกณฑ์การประเมินผล
ไม่แสดงสีหน้าวิตกกังวล
สัญญาณชีพปกติตามวัย
มีความรู้เกี่ยวกับสาเหตุของโรคฮีโมฟี เลีย อาการ การรักษา ภาวะแทรกซ้อนและการ ปฏิบัติตนได้ถูกต้อง
กิจกรรมการพยาบาล
สร้างสัมพันธภาพกับผู้ป่วยและครอบครัว
อธิบายให้ผู้ป่วยและครอบครัวเข้าใจเกี่ยวกับโรค สาเหตุอาการการรักษา และภาวะ แทรกซ้อนทั้งจากโรค
และจากการรักษา
การประเมินผล
ภายหลังให้การพยาบาล ประเมินผลตามเกณฑ์ที่กำหนด
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลที่4
มีโอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการได้รับเลือด เนื่องจากผู้ป่วยเด็กโรคฮีโมฟี เลียได้รับเลือด
บ่อยครั้ง และจากผู้บริจาคหลายคน
เป้าหมายทางการพยาบาล
ไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนเนื่องจากการให้เลือดผิดหมู่หรืออุปกรณ์ในการให้เลือดไม่เหมาะสม
ไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนที่เคยเกิดในการได้รับเลือดครั้งก่อน เช่น การแพ้โปรตีนในเลือด
เกณฑ์การประเมินผล
สัญญาณชีพปกติตามวัย
ไม่มีอาการแน่นหน้าอก หายใจลำบาก
3.ไม่มีอาการหนาวสั่น ไข้สูง คลื่นไส้ อาเจียน
ไม่มีอาการผื่นลมพิษขึ้นที่ผิวหนัง
ผู้ป่วยได้รับยาเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่เคยเกิดในการได้รับเลือดครั้งก่อน
กิจกรรมการพยาบาล
ตรวจสอบหมู่เลือดของผู้ให้และผู้รับให้ตรงกัน
เตรียมอุปกรณ์ในการให้เลือกให้เหมาะสม ได้แก่ ชุดให้เลือดที่มีตัวกรอง เข็มที่มีขนาด เหมาะสมกับหลอด
เลือดด่ำของผู้ป่วย
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับยาเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่เคยเกิดในการได้รับเลือดครั้งก่อน เช่น ยาลดไข้ ยาแก้แพ้
ตามแผนการรักษาของแพทย์
การประเมินผล
ภายหลังให้การพยาบาล ประเมินผลตามเกณฑ์ที่กำหนด
การพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยเด็กที่มีปัญหาทางนีโอพลาสม
มะเร็งเม็ดเลือดขาว (Leukemia)
สาเหตุไม่ทราบแน่นอน แต่พบว่าภาวะเหล่านี้มีอุบัติการณ์ทำให้เกิดมะเร็งเม็ดเลือดขาว
การจำแนกชนิดของมะเร็งเม็ดเลือดขาว
มะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดเฉียบพลัน (acute leukemia)
1) กลุ่มที่มีความเสี่ยงสูง (high risk ALL)
2) กลุ่มที่มีความเสี่ยงต่ำ (low risk ALL)
มะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดเรื้อรัง (chronic leukemia)
พยาธิสภาพ เกิดจากมีเซลล์ต้นกำเนิด (stem cell) ในไขกระดูกกลายไปเป็นเซลล์มะเร็ง
อาการและการแสดง
อาการที่เกิดจากไขกระดูกถูกกดจะมีอาการแสดงของเม็ดเลือดแดงต่ำ
อาการและอาการแสดงที่เกิดจากเซลล์มะเร็งเม็ดเลือดขาวลุกลามไปในอวัยวะอื่นๆ
2.1 ตับ ม้าม ต่อมน้ำเหลืองทำให้ตับ ม้าม ต่อมน้ำเหลืองโต
2.2 ระบบประสาทส่วนกลาง อาการที่พบบ่อย
2.3 ระบบอวัยวะสืบพันธุ์และทางเดินปัสสาวะ เซลล์มะเร็งจะลุกลามเข้าอัณฑะ ทำให้อัณฑะโต
การวินิจฉัยโรค
การซักประวัติ ได้แก่ ประวัติการเกิดการเลี้ยงดู
สิ่งแวดล้อม การเจ็บป่วยในอดีต
การตรวจร่างกาย เพื่อสังเกตภาวะซีด ภาวะเลือดออกที่ผิวหนัง
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การรักษา
การให้ยาเคมีบำบัด (chemotherapy) เพื่อทำลายและกดการสร้างเซลล์มะเร็ง
การใช้รังสีรักษา (radiotherapy) ที่บริเวณกะโหลกศีรษะ
การรักษาด้วยการระตุ้นภูมิคุ้มกัน มีการใช้ยากลุ่ม G-CSF
. การปลูกถ่ายไขกระดูกหรือเซลล์ต้นกำเนิดเม็ดเลือด (bone marrow transplantation : BMT
การรักษาตามอาการ
การพยากรณ์โรค
เด็กที่เป็นมะเร็งเม็ดเลือดขาวอาการจะสงบ เมื่อให้การรักษาครั้งแรก แต่ถ้าเด็กกลับมามีอาการอีก
จะทำโอกาสมีชีวิตยืนยาวลดลงเหลือ ประมาณร้อยละ 70
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลที่1 : เสี่ยงต่อการติดเชื้อ เนื่องจากภมูิต้านทานของร่างกายลดลง จากไขกระดูกถกู กด
การทำงานทำให้การสร้างเม็ดเลือดขาวลดลง
เป้าหมายการพยาบาล
ไม่มีการติดเชื้อในร่างกาย
เกณฑ์การประเมินผล
อุณหภูมิกายอยู่ในระดับปกติ
ไม่มีอาการและอาการแสดงของการติดเชื้อ
กิจกรรมการพยาบาล
แยกเด็กออกจากเด็กโรคติดเชื้ออื่นๆ โดยให้อยู่ในห้องแยกเฉพาะ จำกัดผู้เข้าเยี่ยม ผู้ที่เป็นหวัด
รักษาความสะอาดของร่างกาย เด็กมักมีแผลและเลือดออกในช่องปาก
ติดตามประเมินภาวะการติดเชื้อ วัดอุณหภูมิ และสังเกตอาการและอาการแสดงของ การติดเชื้อในระบบต่างๆ
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลที่ 2 : เนื้อเยื่อได้รับออกซเิจนไมเพียงพอ เนื่องจากมีเม็ดเลือดแดงต่า จากเซลล์มะเร็ง
เม็ดเลือดขาวเข้าไปกดการทำงานของไขกระดูก
เป้าหมายการพยาบาล
1 more item...
เกณฑ์การประเมินผล
2 more items...
กิจกรรมการพยาบาล
3 more items...
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลที่3 : เสี่ยงต่อการมีเลือดออกง่าย เนื่องจากเกลด็เลือดต่ำ จากไขกระดูกถูก กดการ
ทำงานจากเซลล์มะเร็งเม็ดเลอืดขาวลุกลามเขา้ไปในไขกระดูก และจากการได้รับยาเคมีบำบัด
4 more items...
มะเร็งต่อมน้ำเหลือง (Lymphoma)
สาเหตุ
เชื้อไวรัส โดยเฉพาะ Ebstein-Bar virus (EBV)
การได้รับยากดภูมิคุ้มกันเป็นระยะเวลานานๆ
สิ่งแวดล้อม
พยาธิสภาพ
ต่อมน้ำเหลืองมีขนาดโตขึ้น เริ่มโตบริเวณคอและเมดิเอสตินัม แล้วจึงแพร่กระจายไปยังต่อมน ้าเหลืองที่ติดต่อกัน
จากนั้นจึงแพร่ไปยังอวัยวะอื่นแพร่กระจายไปได้ทั่วร่างกาย เช่น ตับ ม้าม ปอด และไขกระดูก
อาการและอาการแสดง
อาการที่พบบ่อยที่สุด คือต่อมน ้าเหลืองบริเวณรักแร้ และขาพบน้อย กดไม่เจ็บ ไม่มีการอักเสบ ถ้าก้อนโตจะกดเจ็บ ต่อมน ้าเหลืองโตทีละติอมและ
เป็นข้างเดียว
การวินิจฉัยโรค
จากการซักประวัติและการตรวจร่างกาย มีต่อมน้ำเหลืองโต ตรวจต่อมน้ำเหลืองทุกกลุ่ม
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การรักษา
การรักษาขึ้นกับระยะของโรคและอายุของเด็ก การรักษาที่ได้ผลค่อนข้างดี คือ รังสีรักษาและการให้เคมีบำบัด
อาการและอาการแสดง
อาการของ NHL มีหลายอาการที่มีอาการเช่นเดียวกับ Hodgkin's disease มะเร็งเม็ดเลือดขาว และขึ้นกับ
ตำแหน่งเริ่มต้นและการกระจายไปยังอวัยวะอื่น ส่วนมากมักเริ่มเป็นที่บริเวณช่องท้อง คอ
การวินิจฉัยโรค
ตรวจชิ้นเนื้อของต่อมน้ำเหลืองที่โตขึ้น
เจาะไขกระดูกพบ lymphoblast น้อยกว่า ร้อยละ 25 และไม่พบ lymphoblast ในเลือด แต่ถ้าพบ
lymphoblast มากกว่าร้อยละ 25 ให้ถือว่า เป็นมะเร็งเม็ดเลือดขาว
ตรวจ radiologic study, CT Scan ปอด ระบบทางเดินอาหาร และเจาะหลัง เพื่อหาตำแหน่งและการ
กระจายของโรค
มะเร็งของไต (Wilms’tumor, Nephroblastoma)
สาเหตุ
ไม่ทราบแน่นอน แต่เนื่องจากเป็นเนื้องอกที่พบมากในวัยเด็ก จึงเชื่อว่าอาจเกิดการเปลี่ยนแปลงของเนื้อเยื่อชั้น
mesoderm ผิดปกติตั้งแต่ระยะที่ทารกเป็นตัวอ่อน (embryo
พยาธิสภาพ
ก้อนมะเร็งมักเป็นก้อนขนาดใหญ่ ทำให้มีอาการท้องโต หรือคลำก้อนได้บนท้อง
อาการและอาการแสดง
คลำพบก้อนที่ท้อง เป็นอาการที่พบมากที่สุด ก้อนเรียบ กดไม่เจ็บ กดเจ็บนั่นคือ
ปัสสาวะเป็นเลือดโดยไม่มีอาการปวด
ซีด
ปวดท้อง มีไข้ เบื่ออาหาร คลื่นไส้อาเจียน (กรณีมีเลือดออกในก้อนมะเร็ง)
การวินิจฉัยโรค
การซักประวัติ อายุของเด็ก การพบก้อนในท้อง อาการที่พบร่วมด้วย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
-ตรวจเลือดและปัสสาวะ hematocrit ต ่าเล็กน้อย ปัสสาวะมีปนเลือด ค่า BUN, Cr มักปกติ
-การตัดชิ้นเนื้อตรวจ เพื่อยืนยันการวินิจฉัยโรค
การรักษา
การผ่าตัดเอาก้อนเนื้องอกออก
รังสีรักษา ที่บริเวณตำแหน่งไต
การให้เคมีบำบัด
การพยาบาล
การพยาบาลระยะก่อนผ่าตัด
-ห้ามคลำท้องเด็ก โดยเขียนป้าย “ห้ามคลำท้อง” แขวนไว้หน้าเตียงเด็ก พร้อมทั้งบอกและอธิบายบิดา
มารดาให้ทราบถึงเหตุผลเพราะจะทำให้แตกและมะเร็งจะแพร่กระจายไปได
-ประเมินการท างานของไต ด้วยการสังเกตลักษณะและปริมาณปัสสาวะ ปริมาณน้ำเข้าออก
-ประเมินสัญญาณชีพ โดยเฉพาะความดันเลือด เด็กอาจมีความดันเลือดสูง
การพยาบาลหลังผ่าตัด
-ประเมินการทำงานของระบบทางเดินอาหาร เช่น ฟังเสียงการเคลื่อนไหวของลำไส้ประเมินอาการ
ท้องอืด อาการอาเจียน
-หลีกเลี่ยงการออกก าลังกายหนัก ระวังเรื่องการติดเชื้อของทางเดินปัสสาวะ เนื่องจาเหลือไตข้างเดียว
-ดูแลประคับประคองสภาพจิตใจแก่บิดา มารดา พยาบาลควรสร้างความเข้าใจให้บิดา มารดาได้ทราบ
ผลของการผ่าตัด
มะเร็งของเซลล์ประสาท (Neuroblastoma)
สาเหตุ
ไม่ทราบแน่นอน แต่เนื่องจากเป็นเนื้องอกที่พบมากในวัยเด็ก และมีรายงานพบว่ามีผู้ป่ วยหลายคนในครอบครัว
เดียวกัน จึงมีข้อสันนิษฐานว่าอาจมีการถ่ายทอดทางพันธุกรรม
พยาธิสภาพ
ก้อนเนื้องอกมักเป็นก้อนขนาดใหญ่ที่เกิดจากการแบ่งตัวผิดปกติของเซลล์ประสาทอ่อน
อาการและอาการแสดง
มีก้อนในช่องท้อง หรือส่วนอื่นๆ เช่น ในช่องอก คอ ก้อนบริเวณหลังลูกตา ท าให้ดันลูกตาโปนออกมา
อาการทั่วไป เช่น มีไข้ น้ำหนักลด อ่อนเพลีย รับประทานได้น้อย ถ่ายอุจจาระเหลวบ่อยครั้ง
ต่อมหมวกไตถูกกด ก้อนเนื้องอกปล่อยสาร Catecholamine
การวินิจฉัยโรค
การเจาะไขกระดูก อาจพบเซลล์มะเร็งที่แพร่กระจายเข้ามาในไขกระดูก
ตรวจปัสสาวะ 24 ชั่วโมง หา VMA และ HAV และระดับ VMA /creatinine จะพบ VMA และ HAV สูง
เกิดจากการย่อยสลาย Catecholamine
ตรวจ ferritin ในเลือด ดูการพยากรณ์โรค ถ้าสูงจะมีการการพยากรณ์โรคไม่ดี
การพยาบาล
ให้การพยาบาลตามอาการและอาการแสดง ซึ่งขึ้นกับตำแหน่งเนื้องอก ประเมินความดันเลือดเป็นระยะๆ หรือ
การดูแลผิวหนังให้แห้งเพราะเด็กจะมีเหงื่ออกมาก
สรุปข้อวินิจฉัยการพยาบาลเด็กโรคมะเร็ง
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลที่ 1 มีภาวะเนื้อเยื่อพร่องออกซิเจน เนื่องจากภาวะซีด
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลที่ 2เสี่ยงต่อการเกิดภาวะเลือดออกง่าย เนื่องจากเกล็ดเลือดต่ำ
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลที่ 3 เสี่ยงต่อการติดเชื้อในระบบต่างๆ ของร่างกาย เนื่องจากภูมิต้านทานต่ำเพราะมีปริมาณเม็ด
เลือดขาวต่ำ
กิจกรรมการพยาบาล
รักษาความสะอาดของร่างกายและสิ่งแวดล้อมของผู้ป่วย แยกจากผู้ป่วยอื่นที่มีภาวะติดเชื้อ
ให้ผู้รับประทานอาหารอ่อน ย่อยง่าย แคลอรีสูง
ให้ผู้ป่วยดื่มน้ำมากๆ เพื่อป้องกันภาวะกรดยูริกในเลือดสูง