Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 8 เศรษฐกิจโลกาภิวัตน์กับการจัดการทรัพยากรเพื่อการส่งเสริมและพัฒน…
หน่วยที่ 8
เศรษฐกิจโลกาภิวัตน์กับการจัดการทรัพยากรเพื่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การเปิดเสรีการค้าและกรอบความตกลงระหว่างประเทศ กับการจัดการทรัพยากรเพื่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
รูปแบบการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจที่นำไปสู่การค้าเสรี
เขตการค้าเสรี (Free-trade Area: FTA) หมายถึง การรวมกลุ่มเศรษฐกิจโดยมีเป้าหมายเพื่อลดภาษีศุลกากรระหว่างกันภายในกลุ่มลงให้เหลือน้อยที่สุด หรือเป็น 0%
2.สหภาพศุลกากร (Customs Union) หมายถึง การรวมตัวกันทางเศรษฐกิจในระดับที่ลึกและกว้างกว่า FTA เพราะมีลักษณะที่เป็นตลาดร่วม
3.พันธมิตรทางเศรษฐกิจ (Closer Economic Partnership: CEP) หมายถึง ความร่วมมือทางเศรษฐกิจที่มีการพัฒนารูปแบบไปจากที่เคยมีมา โดยมีกรอบความร่วมมือที่กว้างขวางกว่า FTA
หลักการสำคัญในการพิจารณาประเทศที่จะจัดทำเขตการค้าเสรีระหว่างกัน
1) สถานะของประเทศคู่ค้า
2) ระดับความเกื้อกูลกัน
3) ประโยชน์สุทธิที่แต่ละฝ่ายจะได้รับ และต้องสอดคล้องกับเงื่อนไขของ WTO
โอกาสในการจัดตั้งเขตการค้าเสรี
ก่อให้เกิดความมีประสิทธิภาพ
และหลักการได้เปรียบโดยเปรียบเทียบ
ทำให้มีตลาดที่กว้างขึ้น การส่งออกจะง่ายและสะดวกมากขึ้น
กระตุ้นให้มีการลงทุนจากต่างประเทศมากขึ้น
ทำให้มีอำนาจในการต่อรอง และอำนาจการเจรจาระหว่างประเทศเพิ่มมากขึ้น
เป็นการถ่วงดุลอำนาจกับอีกประเทศหนึ่ง
ผลกระทบ
จะกระทบต่ออุตสาหกรรมใหม่ ซึ่งยังไม่มีความสามารถในการแข่งขันในเวทีโลกอย่างเพียงพอ
โครงสร้างการผลิตประเภทเดียวกันจะทำให้เกิดการแข่งกัน มากว่าการเกื้อหนุนซึ่งกันและกัน
การจัดทำเขตการค้าเสรีแบบทวิภาคีหรือแบบภูมิภาค จะเป็นการทำลายระบบการค้าเสรีของทั้งโลกซึ่งถือว่าเป็นระบบที่ดีที่สุด
กระตุ้นให้เกิดการกีดกันทางการค้าในภาพรวมเพิ่มขึ้น
ประเทศที่เล็กกว่าจะเสียเปรียบ เนื่องจากมีอำนาจในการต่อรองน้อยกว่า
เมื่อมีการลด/ยกเลิกข้อกีดกัน ทำให้มีการนำสินค้าจากประเทศสมาชิกภายในกลุ่มมากขึ้น และการนำเข้าสินค้าจากประเทศนอกกลุ่มลดน้อยลง
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนและผลกระทบต่อภาคการเกษตรของไทย
แผนงานบูรณาการการดำเนินงานด้านเศรษฐกิจเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ 4 ด้าน
1) การเป็นตลาดและฐานการผลิตเดียว
2) การเป็นภูมิภาคที่มีความสามารถในการแข่งขัน
3) การเป็นภูมิภาคที่มีการพัฒนาเศรษฐกิจที่เท่าเทียมกัน
4) การเป็นภูมิภาคที่มีการบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก
ผลกระทบจากการเข้าร่วมในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC)
เชิงลบ
1.ต้องเผชิญกับภาวะคู่แข่งขันและมีการแข่งขันในตลาดมากขึ้น
อาจมีการกำหนดมาตรการกีดกันทางการค้าที่มิใช่ภาษีมาใช้เป็นข้อจำกัดด้านการค้าเพิ่มมากขึ้น
นักลงทุนไทยต้องเผชิญกับการแข่งขันมากขึ้น
เชิงบวก
1.ทำให้ตลาดของไทยขยายตัวใหญ่ขึ้น
ภาคการผลิตและแปรรูปอาหารสำเร็จรูปจะได้ประโยชน์จากการมีแหล่งวัตถุดิบราคาถูกลง
เกษตรกรและผู้ประกอบจะได้รับประโยชน์จากการพัฒนาและปรับปรุงคุณภาพมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหาร
ช่วยดึงดูดนักลงทุนนอกภูมิภาคเข้ามาลงทุน และมีการย้ายฐานการผลิต เกิดการกระจายรายได้มากขึ้น
การเคลื่อนย้ายการลงทุน หรือย้ายฐานการผลิตจะช่วยสร้างงานให้กับแรงงานในอาเซียนมากขึ้น และจะมีการพัฒนาบุคลากรและแรงงานให้มีคุณภาพและมีฝีมือ
กฎหมายและข้อตกลงระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้องกับการจัดการทรัพยากรธรรมชาติเพื่อการพัฒนาภาคเกษตร และการดำเนินการตามพันธกรณีของประเทศไทย
กฎหมายและข้อตกลงเกี่ยวกับทรัพยากรพันธุกรรมพืช
1.1 อนุสัญญาว่าด้วยการคุ้มครองพันธุ์พืชใหม่
1.2 สนธิสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยทรัพยากรพันธุกรรมพืชเพื่ออาหารและการเกษตร
1.3 อนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ
กฎหมายและข้อตกลงเกี่ยวกับมาตรการสุขอนามัยและสุขอนามัยพืช
2.1 คณะกรรมาธิการโครงการมาตรฐานอาหารระหว่างประเทศ
2.2 อนุสัญญาอารักขาพืชระหว่างประเทศ
2.3 องค์การโรคระบาดสัตว์ระหว่างประเทศ
การดำเนินการของประเทศไทยตามพันธกรณีของกฎหมาย และข้อตกลงระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้องกับการจัดการทรัพยากรธรรมชาติเพื่อการพัฒนาภาคเกษตร
กฎหมายและข้อตกลงเกี่ยวกับทรัพยากรพันธุกรรมพืช
กฎหมายและข้อตกลงเกี่ยวกับมาตรการสุขอนามัยและสุขอนามัยพืช
3) ด้านโรคระบาดสัตว์ ตามมาตรฐานขององค์การโรคระบาดสัตว์ระหว่างประเทศ