Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การจัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา - Coggle Diagram
การจัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
แนวคิด หลักการและความสำคัญ
แนวทางการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
กำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาและค่าเป้าหมายความสำเร็จ
จัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
ดำเนินงานตามแผนพัฒนา
ประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพการศึกษาภายใน
ติดตามผลการดำเนินการเพื่อพัฒนา
จัดทำ SAR
พัฒนาสถานศึกษาให้มีคุณภาพ
การขับเคลื่อนคุณภาพการจัดการศึกษา
เน้นการใช้แผนพัฒนาการจัดการศึกษาและการบริหารจัดการสถานศึกษาเชิงกลยุทธ์ควบคู่กัน
ขั้นตอนการดำเนินงานตามวงจรคุณภาพการบริหารงานเชิงระบบ (PDCA)
P : Planning
กำหนดกรอบรายละเอียดของการดำเนินการ
ผ่านการศึกษา วิเคราะห์ สังเคราะห์
D : Doing
ขั้นการนำแนวทางที่ผ่านการวางแผน
สู่การปฏิบัติตามกิจกรรม
C : Checking
ขั้นการเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือ
สำหรับนำมาวิเคราะห์ แปลผล และเปรียบเทียบกับวัตถุประสงค์และเงื่อนไขของความสำเร็จ
A : Action
ขั้นการนำผลการประเมินมาพิจารณา
สำหรับการแก้ไข ปรับปรุง เปลี่ยนแปลง และพัฒนาคุณภาพ
การจัดและนำไปสู่การใช้แผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา.
มาตรฐานด้านผลลัพธ์
(มาตรฐานคุณภาพผู้เรียน ที่จำแนกเป็นผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน และคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน)
มาตรฐานด้านกระบวนการ
(มาตรฐานด้านกระบวนการบริหารและการจัดการ กับมาตรฐานด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ)
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา
สะท้อนกระบวนการวางแผนเชิงกลยุทธ์ที่จะใช้ในการพัฒนาหรือปรับปรุงเพื่อนำไปสู่เป้าหมาย
แผนปฏิบัติการประจำปี
มีจุดเน้นเป็นรูปธรรมในการดำเนินกิจกรรมตามกรอบเวลา สถานที่ งบประมาณ ผู้รับผิดชอบ เพื่อการดำเนินงานเป็นรายปี กำหนดติดตาม ตรวจสอบการดำเนินงาน รายงานความก้าวหน้าของการดำเนินงาน ปรับปรุงแก้ไขเพื่อให้การดำเนินงานมีประสิทธิภาพ
การจัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
ขั้นตอนการจัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา (ระยะ 3 – 5 ปี)
แต่งตั้งคณะทำงาน
ผู้แทนคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน/ครู/ นักเรียน/ ชุมชน/ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เป็นต้น
สร้างความรู้ความเข้าใจ
รวบรวมข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับสภาพภายในและภายนอก
ข้อมูลพื้นฐาน ด้านปริมาณ
ข้อมูลด้านคุณภาพผู้เรียน
ข้อมูลด้านกระบวนการบริหารและการจัดการ
ด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอน
วิเคราะห์และประเมินศักยภาพของสถานศึกษา
วิเคราะห์หลายแนวทาง เช่น Scenario Planning / Five Forces Model / BSC / KPI /
SWOT Analysis
/ TOWS Matrix
กำหนดทิศทางการจัดการศึกษา
การกำหนดวิสัยทัศน์ (Vision)
การกำหนดพันธกิจ (mission)
การกำหนดเป้าประสงค์ (Goal)
การกำหนดกรอบกลยุทธ์พัฒนาการศึกษาของสถานศึกษา (Strategic Formulation)
การกำหนดประเด็นกลยุทธ์
การกำหนดวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์
การกำหนดตัวชี้วัด และค่าเป้าหมาย
การกำหนดกลยุทธ์ริเริ่ม (Strategic Initiative)
โครงการและกิจกรรม
จัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษา
อธิบายถึงการจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปี (Action Plan)
วัตถุประสงค์ของการจัดทำ
เพื่อกำหนดแนวทางในการปฏิบัติงานตามโครงกากิจกรรม
เพื่อระบุรายการใช้จ่ายงบประมาณ
เพื่อจัดลำดับความสำคัญของการดำเนินโครงการ
เพื่อกำกับติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน
ประโยชน์
1.สถานศึกษามีทิศทางและแนวทางในการดำเนินงาน
2.ใช้เครื่องมือในการควบคุมกำกับติดตามการใช้งบประมาณให้เกิดประสิทธิภาพ
3.มีเครื่องมือในการบริหารจัดการระบบคุณภาพตามแนวทางการพัฒนาระบบ
ขั้นตอนการจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปี
ขั้นตอนที่ 1 วิเคราะห์แผนพัฒนาคุณภาพศึกษาระยะ 3 - 5 ปี
ขั้นตอนที่ 2 ประมาณการงบประมาณรายรับของโรงเรียน
ขั้นตอนที่ 3 ประมาณการงบประมาณรายจ่ายของโรงเรียน
ขั้นตอนที่ 4 การวิเคราะห์กำหนดโครงการตามแผนกลยุทธ์
ขั้นตอนที่ 5 การจัดทำร่างแผนปฏิบัติการ
ส่วนประกอบของแผนปฏิบัติการประจำปี
ส่วนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐานของสถานศึกษา
ประวัติความเป็นมาและข้อมูลสถานศึกษา
สภาพปัจจุบันของสถานศึกษา
สรุปผลการดำเนินงานในรอบปีที่ผ่านมา
ผลงานที่ประสบผลสำเร็จ
ผลการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอกและภายใน
ส่วนที่ 2 ทิศทางและกลยุทธ์
วิสัยทัศน์ /คำอธิบาย วิสัยทัศน์
พันธกิจ
เป้าประสงค์
ประเด็นกลยุทธ์
ส่วนที่ 3 ประมาณการงบประมาณรายรับ – รายจ่าย
การประมาณการรายรับ ตามแผนปฏิบัติการประจำปี
ประมาณการรายจ่ายประจำปีการศึกษา
ส่วนที่ 4 รายละเอียดโครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปี
ส่วนที่ 5 การกำกับ ติดตาม ประเมินผลและรายงาน
ปฏิทินการติดตาประเมินผลโครงการ และรายงานผลการดำเนินโครงการ
แบบรายงานผลการดำเนินโครงการ
หลักการของการเขียนโครงการและการประเมินโครงการ
องค์ประกอบพื้นฐาน
การวางแผน - การศึกษาความเป็นมาและความเป็นอยู่ในปัจจุบันของโครงการ
การดำเนินงาน - เป็นคัดเลือกและจัดสรรทรัพยากรที่มีอยู่ กำหนดกรรมวิธีและกิจกรรม
การประเมิน - การติดตามกำกับการดำเนินโครงการและผลที่เกิดขึ้น
เทคนิคการเขียนโครงการ
ลักษณะสำคัญของโครงการ
1) โครงการต้องเป็นระบบ (System)
ปัจจัย (Input)
กระบวนการ (Process)
ผลผลิต (Output)
ตัวตรวจสอบกลับ (Feed Back)
2) ต้องมีวัตถุประสงค์ (Objective)
3) ต้องเป็นเรื่องของอนาคต
4) ต้องมีระยะเวลาที่แน่นอน
5) ต้องมีความเป็นเอกเทศ
6) ควรมีลักษณะเร่งด่วน หรือมีต้นทุนต่ำ
7) ควรมีสถานที่ดำเนินงาน โครงการต้องระบุให้ชัดเจน
8) ควรมีลักษณะเป็นงานเริ่มต้นหรืองานพัฒนา
9) สอดคล้องกับนโยบายของหน่วยงาน
รูปแบบการเขียนโครงการ
แบบดั้งเดิม หรือ คลาสสิก (Classical Program Writing)
แบบเหตุผลสัมพันธ์ (Logical Framework Program)
1 องค์ประกอบในแนวตั้ง
องค์ประกอบในแนวนอน เป็นองค์ประกอบที่แสดงสาระสําคัญต่างๆ
การออกแบบการประเมินโครงการ
เกณฑ์ที่ใช้ในการออกแบบการประเมิน
ความตรงภายใน (Internal Validity)
ความตรงภายนอก (External Validity)
ความเป็นไปได้ในการประเมิน (Feasibility of Assessment)
องค์ประกอบที่ใช้ในการออกแบบการประเมิน
1.การเลือกจุดเน้นการประเมิน (Focusing)
2.การออกแบบการประเมิน (Designing)
3.การเก็บรวบรวมข้อมูล (Collecting)
4.การวิเคราะห์และแปลผลข้อมูล (Analyzing and Interpreting)
5.การรายงานผลการประเมิน (Reporting)
6.การจัดการประเมิน (Managing)
7.การประเมินผลการประเมิน (Meta Evaluation)
แหล่งของผู้ที่ให้ข้อมูลและวิธีการประเมิน
การประเมินแบบ 1 องศา
ประเมินจากผู้บริหาร หรือ การประเมินตนเอง
บางครั้งต้องใช้เปรียบเทียบกับการประเมินจากแหล่งอื่น ๆ
ประเมินตนเองจะแสดงให้เห็นถึง การให้คะแนนเกินความเป็นจริง (Inflate) ความไม่ชัด (blind spot) และ ความเป็นปรปักษ์
การประเมินแบบ 90 องศา
2.1 ความเที่ยง ความถูกต้อง และความสอดคล้องระหว่างเพื่อนร่วมงาน
ความตรง บุคคลที่ได้รับการสนับสนุน หรือได้คะแนนประเมินสูงที่สุด
ความเชื่อถือได้ที่สูงกว่า ต่อบุคคลที่ได้รับข้อมูลย้อนกลับ
การประเมินแบบ 180 องศา
การประเมินจากล่างขึ้นบน รวมกับการรายงานโดยตรง (Direct Report) จากผู้บริหาร
คุณลักษณะที่เป็นบวกของเพื่อนร่วมงานและมีความถูกต้องสูงกว่าผู้ประเมินในกลุ่มเดียวกัน