Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 7 การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบ ทางเดินปัสสาวะและต่อมไร้ท่อ, image,…
บทที่ 7 การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบ
ทางเดินปัสสาวะและต่อมไร้ท่อ
หน้าที่ของระบบทางเดินปัสสาวะ
Oขับถ่ายสารที่เผาผลาญมากับปัสสาวะ
Oสมดุลสารน้ำและอิเล็กโตรไลท์ ภาวะกรดด่าง
Oขับสารเคมีและสารพิษ
Oผลิตสาร เช่น erythropoietin/ renin/เอนไซม์ไฮดรอกซีเลส/prostaglandin
Urinary tract infection
(UTI)
:star:
การติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ ตั้งแต่กรวยไต ท่อไตกระเพาะปัสสาวะ ท่อปัสสาวะ ทำให้เกิดการอักเสบ แบ่งเป็น 2ชนิด คือ
การติดเชื้อแบบธรรมดา (Uncomplicated UTI) เป็นการติดเชื้อโดยไม่มีความผิดปกติของทางเดินปัสสาวะเป็นสาเหตุนำ
ทางกระแสเลือด (blood stream) กลุ่ม
salmonella/mycobacteriumtuberculosis/staphylococus aureus พบได้บ่อยในวัยทารกและเด็กที่มีภูมิคุ้มกันบกพร่อง
ทางหลอดปัสสาวะ (ascending infection) เป็นทางที่
พบบ่อยที่สุด จากเชื้อ E.coli ร้อยละ 90 เกิดจากการปนเปื้อนบริเวณเปิดท่อปัสสาวะ
ปัจจัยที่สัมพันธ์กับการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ
O อายุและเพศ เพศหญิงติดเชื้อง่ายกว่าเพศชาย
O การได้รับนมมารดา จะได้ภูมิคุ้มกันจากมารดา
O การกลั้นปัสสาวะ
O การอุดกั้นทางเดินปัสสาวะ ท่อปัสสาวะตีบ
O การทำงานของกระเพาะปัสสาวะที่ผิดปกติ
O การย้อนกลับของปัสสาวะเข้าไปในท่อไต
O การมีสิ่งแปลกปลอม การคาสายสวน การมีนิ่ว
อาการและอาการแสดง
O ทารกแรกเกิด : ไข้ เบื่ออาหาร ไม่ดูดนม เลี้ยงไม่โตอาเจียน ซึม น้ำหนักลด ชัก ไม่รู้สึกตัว sepsis
O ทารก (1 เดือน- 1 ปี ) :ไข้สูง ร้องปวดท้อง ปัสสาวะบ่อย เบ่งปัสสาวะขัด ร้องกวน โยเย ปัสสาวะเป็นเลือด
O เด็กเล็ก (1 – 3 ปี ): มีไข้สูง เบื่ออาหาร อาเจียนอุจจาระร่วง ปัสสาวะขัด หรือมีไข้สูง ชัก
O เด็กวัยก่อนเรียน (3 – 6 ปี ) :อาการจะบ่งชัดว่ามี
ปัญหาระบบทางเดินปัสสาวะ ได้แก่ ปวดท้องส่วนล่าง ปัสสาวะขัด ล าบาก
O เด็กวัยเรียน : มีอาการเด่นชัด เช่น ไข้ ปวดท้อง
สามารถบอกบริเวณที่ปวด ถ่ายปัสสาวะบ่อย ขัดกลั้นปัสสาวะไม่ได้ กดเจ็บบริเวณชายโครงด้านหลัง
การวินิจฉัย
O การซักประวัติ
O การตรวจร่างกาย
O การตรวจปัสสาวะ
Oการตรวจหาความผิดปกติของระบบทางเดินปัสสาวะ
Oในเดก็ อายต่ำกวา่ 5 ปี ควรตรวจหาความผิดปกติของ
ระบบทางเดินปัสสาวะแทบทุกราย
การรักษา
O จุดประสงค์ : รักษาการติดเชื้อ
O ดูแลการให้อาหารและน้ำ ยาลดไข้ แก้ไขภาวะความ
เป็นกรดโดยให้อาหารโปรตีนต่ำ
Oการให้ยาปฏิชีวนะ
Oในรายที่กลับเป็นซ้ำ ดื้อยาได้ง่าย
Oในรายที่ติดเชื้อเรื้อรังจากความผิดปกติของทางเดิน
ปัสสาวะ Co-trimoxazole
กิจกรรมการพยาบาล
O กระตุนให้ดื่มน้าในระยะเฉียบพลัน เพื่อช่วยในการขับถ่าย
O ประเมินสารน้ำเข้าออก
O สังเกตและบันทึกสี กลิ่น และจำนวนปัสสาวะ
O ดูแลใหดื่มน้ำผลไม้ เช่น ส้ม องุ่น มะเขือเทศ เพื่อปรับสภาพภายในระบบทางเดินปัสสาวะเป็นกรด (pH 5-6) ช่วยให้ไม่เหมาะสมกับการเจริญเติบโตของเชื้อ
O ปัญหาการหดรัดเกร็งของกระเพาะปัสสาวะ ถ้าไม่มีไข้ให้ใช้กระเป๋าน้าร้อนวางที่กระเพาะปัสสาวะได้
Oดูแลให้ยาปฏิชีวนะ
Oติดตามและประเมินผลการติดเชื้อจากการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
Oการให้ยาลดไข้
Oการป้องกันการติดเชื้อ
Oการล้างมือ
การติดเชื้อแบบซับซ้อน (Complicated UTI)
Acute
Pyelonephritis
:star:
Oการอักเสบของเนื้อไตและเยื่อบุภายในท่อส่วนที่เชื่อมต่อกับไต
O(เรียกว่า “กรวยไต”) เนื่องจาการติดเชื้อ
สาเหตุ
O เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรีย ที่พบบ่อยได้แก่เชื้ออี
โคไล (E.coli) เป็นเชื้อที่พบในอุจจาระของคน
อาการ
Oผู้ป่วยจะมีอาการไข้สูง หนาวสั่นมาก ปวด
ศีรษะ อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร อาจมีอาการคลื่นไส้
การวินิจฉัย
Oอาการเคาะเจ็บตรงบั้นเอวข้างใดข้างหนึ่ง โดยการใช้
กำปั้นทุบเบาๆ ตรงบั้นเอว 2 ข้าง จะพบว่าข้างที่มกรวยไตอักเสบจะทุบเจ็บจนผู้ป่วยรู้สึกเสียวสะดุ้ง
Oปัสสาวะมีลักษณะขุ่น ตรวจพบปริมาณเม็ดเลือดขาว
การเพาะเชื้อปัสสาวะจะพบเชื้อที่เป็นสาเหต
การรักษา
O รักษาตามอาการ
Oในรายที่มีการรุนแรง หรืออาเจียน กินอะไรไม่ได้ แพทย์
จะรับตัวผู้ป่วยไว้รักษาในโรงพยาบาล ให้น้ำเกลือ
Oแนะนำให้ผู้ป่วยดื่มน้ำมากๆ เพื่อช่วยขับเชื้ออกทาง
ปัสสาวะ บำรุงร่างกายด้วยอาหารโดยเฉพาะอย่างยิ่ง
O หลังจากอาการทุเลาจนหายเป็นปกติแล้ว แพทย์จะ
นัดผู้ป่วยมาตรวจปัสสาวะเป็นระยะๆ
Acute
Glomerulonephritis
:star:
อาการและอาการแสดง
Hematuria
Oliguria ปัสสาวะออกน้อยกว่า 100 cc/day
Systemic symptoms อาการแสดงเฉพาะระบบคลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้อง เบื่ออาหาร 2-3 วันก็
Edema บวมทัง้ตัว เห็นชัดบริเวณใบหน้าและรอบตา(puffy face)
การพยาบาล
ไม่สามารถคงไว้ซึ่งการขับถ่ายปัสสาวะตามปกติได้ เนื่องจากมีการบาดเจ็บของโกลเมอรูรัส
เสี่ยงต่ออันตรายจากภาวะความดันโลหิตสูง
มีน้า คั่งและมีภาวะไม่สมดุลของอิเล็กโตรไลท์
เนื่องจากไตเสียหน้าที่ในการกรองปัสสาวะ
Hypertension
ทา ให้เกิดความผิดปกติของสมอง (Hypertensive encephalopathy) มีาการปวดศีรษะ ตามองไม่เห็น อาเจียน นอนไม่หลับ ชักและโคม่า
การรักษา
อาหาร จากัดเกลือในรายที่บวมและความดันโลหิตสูง จากัดเกลือ 200-300 มก./วันและจากัดโปแตสเซียมใน 1-2 วันแรกที่มีปัสสาวะน้อยกว่า 200-300 มล./วัน
เป็นการรักษาแบบประคับประคอง และควรป้องกัน
ภาวะแทรกซ้อนที่จะเกิดขึ้น
ร้อยละ 70-80 จะหายขาดเนื่องจากอิมมูนคอมเพล๊กซ์ถูกขับ
ออกทางกระแสเลือดและเนื้อไต
การพักผ่อน bed rest ในรายที่มีความดันโลหิต
สูงปานกลางถึงสูงมาก หรือบวมมาก
Edema
ร้อยละ 70-90 บวมทันทีและบวมทั้งตัวส่วนใหญ่บวมไม่มาก เห็นชัดที่บริเวณหนังตา(periorbital area) บวมแบบไม่กดบุ๋ม (non-pittingedema)
Systemic symptoms
ระบบประสาท เช่น ซึม ปวดศีรษะ ชัก เกิดจาก
ความดันโลหิตสูง และอะโซเทเมีย
อาการระบบทางเดินอาหาร เช่น คลื่นไส้
อาเจียน ปวดท้อง เบื่ออาหาร 2-3 วันก็หาย
ระยะการเกิดโรค
ระยะฟักตัว หรือระยะแฝง (latent period)
ระยะไตอักเสบ
Oliguria
ปัสสาวะออกน้อยกว่า 100 มล./วันพบได้ร้อยละ 26 เนื่องจากอัตราการกรองของโกลเมอรูรัสลดลงอย่างทันทีทันใด
Hematuria
พบได้ร้อยละ 30-70 จะมีประวัติปัสสาวะเป็นสีโคล่า สีชา สีสนิมหรือสีนาตาลแดง
พยาธิสภาพ
Complement มีคุณสมบัติทา ลายเชื้อแบคทีเรีย หลั่งสาร
ที่มีองค์ประกอบของโปรตีน มีผลต่อหลอดเลือด
Vasoactive amine กระตุ้น kinin ทำให้หลอดเลือดฝอย
ของไตหดรัดตัว
เป็นโรคที่เกิดจากอิมมูนคอมเพล๊ก
Nephrotic syndrome
สาเหตุ
secondary nephrotic syndrome
primary nephrotic syndrome
Congenital nephrotic syndrome
กลุ่มอาการเนโฟรติก
Hypercholesterolemia (มากกว่า 250 มก./ดล.)
Heavy proteinuria คือมากกว่า 50 มก./กก./วัน
Anasarca (บวมทั้งตัวและแบบกดบุ๋ม)
Hypoalbuminemia (น้อยกว่า 2.5 ก./ดล.)
การดูแล
การรักษาอาการบวม
การดุแลผิวหนัง
การให้ภูมิคุ้มกันโรค
การให้อาหาร
การจากัดกิจกรรม
การป้องกันการติดเชื้อ
อาการ
ระบบทางเดินอาหาร
การบวม
การหายใจลา บาก
ความดันโลหิตสูง
ผิวซีด แตก