Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 2 การพยาบาลเด็กระบบติดเชื่อ - Coggle Diagram
บทที่ 2 การพยาบาลเด็กระบบติดเชื่อ
โรคติดเชื่อที่ป้องกันด้วยวัคซีน
คางทูม
สาเหตุุ
Paramyxovirus (อยู่ในน้ำลาย/เสมหะ)
อาการ
ไข้ ครั่นเนื้อครั่นตัว อ่อนเพลีย ขากรรไกรบวมแดง
ปวดร้าวไปที่หูขณะกลืน เคี้ยว อ้าปาก อาการบวมจะค่อยๆยุบหายไปใน 7-10วัน
โรคแทรกซ้อน
เยื่อหุ้มสมองอักเสบ * พบบ่อย
หูชั้นในอักเสบ ไตอักเสบ
ส่วนน้อยพบ orchitis (ลูกอัณฑะอักเสบ : ไข้สูง อัณฑะบวม ปวด อาจเป็ นหมันได้)
การรักษา
รักษาตามอาการ
ให้นอนพัก ดื่มน้ำมากๆ เช็ดตัวลดไข้ ให้ยาลดไข้
อัณฑะอักเสบ
ให้ prednisolone 1 mg/kg/day
การป้องกัน
ให้วัคซีนป้องกันคางทูม
หัดเยอรมัน
ระยะติดต่อ คือ 2-3 วันก่อนมีผื่นขึ้นจนไปถึง 7 วันหลัง
ผื่นขึ้น
ระยะฟักตัว 14-21 วัน เฉลี่ย 16-18 วัน
การวินิจฉัยโรค
แยกเชื้อไวรัสจากน้ำมูก swab จากคอ เลือด
ปัสสาวะ และน้ำไขสันหลัง
แยกผู้ป่วยครบ 7วันหลังผื่นขึ้น
การพยาบาลผู้ป่วยโรคหัด
การแยกเด็กแบบ Respiratory Isolation ตั้งแต่มีอาการถึง 5-7วัน หลังผื่นขึ้น
Tepid sponge
การรดูแแลทั่วๆไป ผิวหนัง ตา หู ปากและฟัน
ระยะไข้สูงให้อาหารอ่อน หรืออาหารเหลว ดื่มน้ำมากๆ
สังเกตอาการแทรกซ้อนอื่นๆ
บาดทะยัก
สาเหตุ
การติดเชื้อบาดทะยัก Clostridium tetani เป็นเชื้อแกรมลบเจริญได้ดีในสภาพที่ไร้ออกซิเจน
อาการและอาการแสดง
ประมาณ 2-14 วัน ถ้าระยะเวลาฟักตัวน้อยกว่า 1 สัปดาห์ มักรุนแรง อัตราตายสูง
การรักษา
ให้การรักษาแบบประคับประคอง
ให้ tetanus antitoxin (TAT) ทางหลอดเลือดดำ
ให้ยาปฏิชีวนะ เช่น peniccilin
ควบคุมอาการชัก ให้ยาคลายกล้ามเนื้อ
การป้องกัน
ล้างแผลให้สะอาดเมื่อมีบาดแผล ฟอกสบู่เช็ดด้วยแอลกฮอล์
ใช้เครื่องมือที่สะอาดปราศจากเชื้อรวมทั้งการรักษาความสะอาดสะดือ
ให้วัคซีนป้องกันบาดทะยัก
คอตีบ
สาเหตุ
เชื้อแบคทีเรีย Corynebactrium diphtheriae (C.diphtheriae) รูปทรงแท่ง ย้อมติดสีแกรมบวก
อาการและอาการแสดง
ไข้ต่ำๆ อาการคล้ายหวัด ไอเสียงก้อง เจ็บคอรุนแรง เบื่ออาหาร ต่อมน้ำเหลืองที่คอโต
โรคแทรกซ้อน
การอุดตันของทางเดินหายใจส่วนบน
กล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ
หัวใจเต้นไม่สม่ำเสมอ
เต้นเร็วหรือช้า
หัวใจล้มเหลว
การรักษา
การให้ Diphtheria Antitoxin (DAT) ต้องรีบใหห้เร็วที่สุด
ให้ยาปฏิชีวนะเพนนิซิลิน เป็นเวลา 14 วัน
ถ้าทางเดินหายใจตีบต้องเจาะคอเพื่อช่วยให้หายใจได้
ต้องมีการพักผ่อนอย่างเต็มที่ อย่างน้อย 2-3 สัปดาห์
การป้องกัน
ต้องมีการแยกผู้ป่วยจากผู้อื่น อย่างน้อย 3 สัปดาห์
ให้วัคซีนป้ องกันคอตีบ 4 ครั ้ง เมื่ออายุ 2,4,6 และ 18 เดือน
หัด
สาเหตุ เชื่อไวรัส (paramyxovirus)
อาการและอาการแสดง
ไข้สูง อ่อนเพลีย ไอ น้ำมูกน้ำตาไหล เยื่อบุตาอักเสบ กลัวแสง หนังตาบวม ทอนซิลโตและแดง
โรคแทรกซ้อน
สมองอักเสบ (Encepalitis) ไข้ อาเจียน ซึม ชัก และระคายเคืองของเยื่อหุ้มสมอง
การรักษา
เป็นโรคที่หายได้เองไม่มีโรคแทรกซ้อนไม่มีความจำเป็นให้ยาต้านจุลชีพ
ให้พักผ่อน ยาลดไข้ และให้น้ำเพียงพอกับความต้องการของร่างกาย
การป้องกัน
การให้ภูมิคุ้มกันที่สามารถป้ องกันโรคหัดได้ทันที โดยให้Gamma globulin ฉีดเข้ากล้ามเนื ้อภายใน 5วันหรือน้อยกว่า 6วันหลังจากได้รับเชื้อ
วัคซีนที่ทำจากเชื้อมีชีวิตฉีดเข้าใต้ผิวหนังครั้งเดียว ควรให้ในเด็กอายุไม่ต่ำกว่า 1 ขวบ
สุกใส
อาการ
มีไข้ต่ำๆพร้อมกับผื่น
อ่อนเพลีย
เบื่ออาหาร 1-2วัน ปวดท้องเล็กน้อย
ปวดศีรษะ
โรคแทรกซ้อน
การติดเชื้อแบคทีเรียที่ผิวหนัง
ปอดอักเสบ ข้ออักเสบ กระดูกอักเสบ
สมองอักเสบ
การป้องกัน
ระยะแพร่เชื้อ เริ่มตั้งแต่ 24 ชั่วโมงก่อนที่ผื่นขึ้นจนตุ่ม
แห้งหมดแล้วควรอยู่ในห้องแยก strict isolation ควรหยุดเรียน
การพยาบาล
แยกผู้ป่วยไว้จนกว่าแผลตกสะเก็ดหมด
ตัดเล็บมือให้สั้น ใส่ถุงมือในเด็กเล็ก
อาหารธรรมดา
สังเกตภาวะแทรกซ้อน
วัคซีนป้องกันโรคสุกใส
ไอกรน
สาเหตุ
เชื้อแบคทีเรียที่มีชื่อว่า บอร์เดเทลลาเพอร์ทัสซิส
ภาวะแทรกซ้อน
ปอดอักเสบ/ปอดบวม
ปอดแฟบ
อาจพบหลอดลมอักเสบ
วิธีรักษาโรคไอกรน
ควรรีบไปพบแพทย์เมื่อมีอาการชัดเจนว่าเป็นโรคไอกรน
ให้เด็กอยู่ในที่ที่มีอากาศปลอดโปร่ง ให้ดื่มน้ำมากๆ
ควรให้เด็กรับประทานอาหารทีละน้อยแต่บ่อยครั้ง
หลีกเลี่ยงสาเหตุที่ทำให้เกิดอาการไอ
การรักษาด้วยยาปฎิชีวนะ
วิธีป้องกัน
ป้องกันได้ด้วยการฉีดวัคซีนรวมป้องกันโรคคอตีบ บาดทะยัก และไอกรน
วัณโรค
สาเหตุ
เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย Mycobacterium tuberculosis
อาการ
ระยะแรกไม่แสดงอาการ 1-6เดือนต่อมา LN.โต
การรักษา
กินยาต่อเนื่องอย่างน้อย 6 เดือน
แยกผู้ป่วย 1-2 เดือนจนเสมหะไม่พบเชื้อ
อาหารโปรตีนสูง วิตามินสูง
วัคซีนBCG
โรคติดเชื้ออื่นๆ
Hand Foot Mouth Disease
การติดต่อ
ทาง fecal-oral
Respiratory route
อาการและอาการแสดง
เริ่มจากการมีไข้ต่ำๆ เจ็บคอ มีผื่นขึ้น
ผื่นเริ่มจากจุดนูนแดงเล็กๆ เจ็บ ต่อมาเป็นตุ่มน้ำ
อาการเจ็บปาก ตรวจร่างกายจะพบมีรอยโรคใน
บริเวณปาก มือ และเท้าตามมา
ภาวะแทรกซ้อน
ก้านสมองอักเสบ
สมองและเยื่อหุ้มสมองอักเสบ
เยื่อหุ้มสมองอักเสบที่ไม่ใช่การติดเชื้อแบคทีเรีย
กล้ามเนื้ออ่อนแรงคล้ายโปลิโอ
ปอดอักเสบ
การรักษา
รักษาแบบประคับประคองและบรรเทาอาการหากไม่มีภาวะแทรกซ้อน เป็นโรคที่สามารถหายเองได้
ในกรณีที่มีภาวะแทรกซ้อนให้รักษาตามอาการเป็นส่วนใหญ่
การป้องกัน
แยกผู้ป่วยที่เป็นโรคออกจากกลุ่มเพื่อนในโรงเรียน
แยกเด็กป่วยไม่ให้ร่วมกิจกรรมกับเด็กอื่น
ผู้ดูแลล้างมือบ่อยๆ โดยเฉพาะหลังเปลี่ยนผ้าอ้อม
เชื้ออยู่ในอุจจาระได้นาน 6-12 สัปดาห์
ไข้ซิก้า
สาเหตุ
เชื้อไวรัสซิก้า (Zila Virus-ZIKV) มียุงลายบ้านเป็นพาหะสำคัญ(AedesAegypti) นำพาเชื้อไวรัส มีลักษณะคล้ายคลึงกับ ไวรัสไข้เหลือง ไวรัสเดงกี
อาการ
ไข้ อ่อนเพลีย ปวดศีรษะ ผื่น ตาแดง ปวดข้อ ปวด กล้ามเนื้อ แต่อาการเหล่านี้สามารถทุเลาลง
ภายในเวลา 2-7 วัน หากได้รับการรักษาอย่างถูกต้องและทันท่วงที
การรักษา
ในปัจจุบันยังไม่มีวัคซีนหรือยาในการรักษาโรคนี้โดยเฉพาะ แพทย์จะทำการรักษาตามอาการของผู้ป่วยเป็นหลัก
ดื่มน้ำมาก ๆ เพื่อป้องกันภาวะขาดน้ำ
นอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ
ห้ามรับประทานยาแอสไพริน
ไข้เลือดออก
อาการทางคลินิก
หลังจากรับเชื้อ 5-8 วัน(ฟักตัว) จึงเริ่มมีอาการ
อาการจำเพาะ
ไข้สูงลอย 2-7 วัน
อาการเลือดออก
ตับโต กดเจ็บ
ภาวะเลือดไหลเวียนล้มเหลว/ภาวะช็อก
การรักษา
ระยะไข้สูง ให้ยาลดไข้เมื่อมีไข้สูงเกิน 38.5 องศาเซลเซียสห้ามให้แอสไพริน
ระยะช็อค มุ่งแก้อาการช็อคและอาการเลือดออกให้สารน้ำไม่ควรให้นานเกิน 24-48 ชม.
ให้เลือด
การดำเนินโรคแบ่งเป็น 3 ระยะ
ระยะไข้สูง (febrile stage)
มักมีหน้าแดงส่วนใหญ่ไม่มีน้ำมูกไหลหรือไอ
อาจปวดศีรษะ ปวดกระบอกตา
อาจมีเบื่ออาหาร อาเจียน ปวดท้องด้วย
ระยะตับโตหรือใกล้ไข้ลงจะปวดชายโครงขวา
ระยะวิกฤต/ช็อก (critical stage)
เป็นระยะที่มีการรั่วของพลาสมา ซึ่งพบทุกราย
รุนแรง มีการไหลเวียนล้มเหลว
อาการกระสับกระส่าย มือเท้าเย็น
ส่วนใหญ่รู้สติดี พูดรู้เรื่อง กระหายน้ำ อาจปวดท้องกะทันหันก่อนเข้าสู่ภาวะช็อก
ระยะฟื้นตัว(convalescent stage)
การดูดกลับของพลาสมาเข้าสู่หลอด
เลือด
ผู้ป่วยที่ไม่ช็อก เมื่อไข้ลงก็จะดีขึ้น
ความรุนแรงของไข้เลือดออก
Grade I : positive tourniquet test / easy bruising
Grade II : มีเลือดออก เช่น มีจุดเลือดออกตามตัว มีเลือดกำเดา อาเจียน/ถ่ายอุจจาระเป็นเลือด/สีดำ
Grade III : pt.shock มีชีพจรเบาเร็ว pulse pressure แคบ / BP ต่ำ / ตัวเย็น เหงื่อออก กระสับกระส่าย
Grade IV : ช็อครุนแรง วัด BP / pulse ไม่ได้
เอดส์
การติดต่อ
จากแม่สู่ลูก การกินมมารดา
การได้รับเชื้อ ได้รับเลือด
การมีเพศสัมพันธ์
การป้องกัน
ให้ยาต้านเชื้อไวรัส คือ AZT
เลือกทำการผ่าตัดออกทางหน้าท้องก่อนเจ็บครรภ์คลอดและน้ำเดิน
ลดให้นมแม่ ให้นมผสมแทน
การดูแลเด็กติดเชื้อเอชไอวี
การส่งเสริมโภชนาการ
การส่งเสริมพัฒนาการ
การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค 2 แบบ
ให้BCG(ไม่ให้ในผู้ป่วยที่มีอาการของโรคเอดส์)และ IPV แทน OPV
ไม่ให้ทั้งสองชนิด (ACIP)
การติดเชื้อที่ผิวหนัง
โรคผิวหนังอักเสบ
ผิวหนังอักเสบ (Eczematous dermatitis)
การรักษา
Acute stage ใช้ Wet dressing ด้วยน้ำเกลือ น้ำละลายด่างทับทิม
Subacute stage ทา corticosteroid cream
Chronic stage ใช้ keratolytic agent ร่วมกับ corticosteroid cream หรือ ointment ทาเพื่อให้ผิวหนังบางลง
ต้องแห้งสะอาด ไม่หมักหมม
ยาลดคัน
ทาวาสลินหรือ zinc oxide cream เพื่อไม่ให้ผิวหนังสัมผัสกับปัสสาวะ อุจจาระ
ถ้าผิวหนังอักเสบมากอาจให้ยาต้านเชื้อราร่วมด้วย
โรคผื่นภูมิแพ้ผิวหนัง (Atopic dermatitis )
อาการและอาการแสดง
มักกำเริบในฤดูหนาว ทำให้ผิวแห้ง หรือฤดูร้อน เหงื่อออกมาก
ปัจจัยกระตุ้นให้เกิดผื่น เช่นความแห้ง ความร้อน ความชื้น ความเครียด
การรักษา
ทำความสะอาดด้วยน้ำยา Burrow’s solution 1:40หรือน้ำละลายด่างทับทิม 1:4000 หรือ 0.9%NSS วันละ 3-4 ครั้งเมื่อแห้งดีแล้วหยุดเช็ด หลังจากนั้นทาด้วยครีมสเตียรอยด์ชนิดอ่อนหรือปานกลาง
Seborrheic dermatitis
การรักษา
ใช้สำลีชุบน้ำมันมะกอก หรือวาสลิน เช็ดออกเบาๆแล้วฟอกผิวท าความสะอาดให้ทั่ว ล้างออกด้วยน้ำสะอาด
กรณีเป็นที่ศีรษะเป็นมากอาจต้องสะผมทุกวันหลีกเลี่ยงแชมพูสะผมที่มีส่วนผสมของด่าง
ภาวะแทรกซ้อน
น้ำมันเยิ้ม ทำให้เกิดการติดเชื้อแบคทีเรียและเชื้อราได้
Diaper dermatitis
สาเหตุ
เกิดจากความเปียกชื้น ผิวหนังสัมผัสกับอุจจาระปัสสาวะเป็นเวลานาน โดยไม่ทำความสะอาด
อาการ
ผื่นแดง ตุ่มแดง ตุ่มน้ำใส บวม เป็นขุย บริเวณหน้าท้องด้านล่างหัวเหน่า หน้าขา ก้น และบริเวณที่สัมผัสกับผ้าอ้อม
การรักษา
ทาด้วยครีมสเตียรอยด์ชนิดอ่อนหรือปานกลาง ทานาน 3-4 วัน
Roseola Infantum
สาเหตุ
เกิดจากเชื้อไวรัสที่มีชื่อว่า Human herpesvirus type 6 (HHV-6) และ Human herpesvirus type 7 (HHV-7)
อาการ
ผู้ป่วยจะมีไข้สูงประมาณ 39.5-40.5 องศาเซลเซียส เกิดขึ้นอย่างฉับพลันอาจมีลักษณะตัวร้อนตลอดเวลา
ภาวะแทรกซ้อน
อาจทำให้เกิดอาการชักจากไข้นานประมาณ 2-3 นาที
โรคผิวหนังมีการติดเชื้อแบคทีเรีย
.โรคแผลพุพอง (Impetigo)
ติดเชื้อที่ผิวหนังชั้นนอก ไม่เกิดแผลเป็น
Cellulitis เป็นการอักเสบของผิวหนังชั้นลึก
มีการบวมแดงและเจ็บปวด มักเกิดจากบาดแผล หรือ trauma
Erysipelas
พบบ่อยในเด็กทารกและเด็กเล็ก เป็น superficial cellulitis มีการลุกลามเข้าระบบlymphatic vessel invovementมาก
การรักษา
ทำความสะอาดด้วยสบู่หรือน้ำยาฆ่าเชื้อโรค วันละ 2-3 ครั้ง
ให้ยาปฏิชีวนะครอบคลุมเชื้อ
ในรายเป็นฝีแล้วเป็น fluctuate ต้องผ่าหนองออก
โรคผิวหนังมีการติดเชื้อรา
โรคกลาก (dermatpophytosis)
โรคกลากที่ศรีษะ
เกิดจากเชื้อ trichophyton และ
microsporum
โรคกลากที่ลำตัว
เกิดจากเชื้อ trichophyton และ
microsporum
โรคกลากที่ใบหน้า
โรคกลากที่ขาหนีบ
โรคเกลื้อน (tinea vesicolor)
สาเหตุ
เชื้อ dimorphic yeast malassezia furfur
การรักษา
ทำความสะอาดผิวหนัง ยาทาต้านเชื้อรา รับประทานยา
Candidiasis
สาเหตุ
เชื้อ candida albicans
ตำแหน่ง
ช่องปาก ผิวหนัง
โรคผิวหนังจากเชื้อปรสิต
โรคหิด(scabies)
สาเหตุ
เกิดจากตัวหิด sarcoptesscabiei
var hominis
ลักษณะ
ผื่นนูนแดงขนาดเล็ก หรือตุ่มน้ำใสขนาดเล็ก
การรักษา
ซักเสื้อผ้า ผ้าปูที่นอน ยาแก้คัน ใช้ยาทา
เหาศีรษะ (head louse)
สาเหตุ
Pediculus humanus var capitis
ลักษณะ
คันศีรษะ เกาจนถลอก
การรักษา
การตัดผมสั้น การทำความสะอาดเครื่องนอน การสระผมด้วยแชมพูยา ใช้เม็ดน้อยหน่าตำหมักผม การหวีเอาไข่เหาออก
โรคผิวหนังมีการติดเชื้อไวรัส
หูด (warts)
เกิดจากเชื้อไวรัสทำให้เซลล์ผิวหนังแบ่งตัวมากกว่าปกติ เกิดเป็นติ่งเนื้อหรือตุ่มนูน
สาเหตุ
เกิดจากเชื้อ Human papilloma virus (HPV)
การรักษา
ใช้สารเคมี การรักษาด้วยความเย็น การผ่าตัด การใช้แสงเลเซอร์ การรักษาด้วยระบบอิมมูน
หูดข้าวสุก
พบบ่อยในเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี
สาเหตุ
mollusum contagiosum virus
การรักษา
การสะกิดออก ใช้สารละลายขุย ให้ยา cimethidine ให้ยาทา