Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบ ทางเดินปัสสาวะและต่อมไร้ท่อ - Coggle Diagram
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบ
ทางเดินปัสสาวะและต่อมไร้ท่อ
Urinary tract infection
กิจกรรมการพยาบาล
กระตุ้นให้ดื่มน้ำในระยะเฉียบพลันเพื่อช่วยในการขับถ่ายปัสสาวะในการกำจัดเชื้อโรค โดยปริมาณน้ำที่ร่างกายต้องการจะสัมพันธ์กับการใช้พลังงานของร่างกาย
สังเกตและบันทึกสี กลิ่น และจำนวนปัสสาวะ
ดูแลให้ดื่มน้ำผลไม้ เช่น ส้ม องุ่น มะเขือเทศ
อาการและอาการแสดง
ทารกแรกเกิด : ไข้ เบื่ออาหาร ไม่ดูดนม เลี้ยงไม่โต
อาเจียน ซึม น้ำหนักลด ซัก ไม่รู้สึกตัว sepsis
ทารก (1 เดือน- 1 ปี) :ไข้สูง ร้องปวดท้อง ปัสสาวะบ่อย เบ่งปัสสาวะขัด ร้องกวน โยเย ปัสสาวะเป็นเลือด
เด็กเล็ก (1 - 3 ปี): มีไข้สูง เบื่ออาหาร อาเจียน
อุจจาระร่วง ปัสสาวะขัด หรือมีไข้สูง ชัก
การรักษา
ดูแลการให้อาหารและน้ำ ยาลดไข้ แก้ไขภาวะความ เป็นกรดโดยให้อาหารโปรตีนต่ำ
การให้ยาปฏิชีวนะ ดูจากผลการเพาะเชื้อและการตอบสนองต่อยาตัวใด เช่น Amoxycilin Gentamycin, Amikacin
ในรายที่กลับเป็นซ้ำ ดื้อยาได้ง่าย Sulfonamide, Bactrim, Trimethroprim
ในรายที่ติดเชื้อเรื้อรังจากความผิดปกติของทางเดิน ปัสสาวะ Co-trimoxazole
Congenital hypothyroidism(ความผิดปกติแต่กำเนิด)
อาการ
อ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย เฉื่อยช้า ทำงานเชื่องช้า คิดช้า ขาดสมาธิ ซึมเศร้า
พยาธิสภาพ
มีสาเหตุมาจากความผิดปกติในการพัฒนาต่อมไทรอยด์ในขณะเป็นตัวอ่อน
ภาวะเเทรกซ้อน
ภาวะ Myxedema coma พบได้น้อยประสาทอักเสบคอพอกปัญหาสุขภาพจิตปัญหาสุขภาพหัวใจ
การักษา
ทดแทนด้วยฮอร์โมนไทรอยด์
Acute Pyelonephritis
สาเหตุ
เกิดจากการติดเชื้อแบคที่เรีย ที่พบบ่อยได้แก่เชื้ออีโคไล (E.Coli) เป็นเชื้อที่พบในอุจจาระของคนทั่วไปเชื้อโรคจะเข้าสู่กรวยไต โดยเริ่มจากการแปดเปื้อนที่ผิวหนังรอบๆ ปัสสาวะ ผ่านกระเพาะปัสสาวะย้อนขึ้นไปตามท่อไต เข้าไปในกรวยไต แล้วเชื้อมีการแบ่งตัวเพิ่มจำนวนจนก่อให้เกิดโรคขึ้นมา
อาการ
ผู้ป่วยจะมีอาการไข้สูง หนาวสั่นมาก ปวดศีรษะ อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร อาจมีอาการคลื่นไส้ อาเจียนร่วมด้วย มักมีอาการปวดท้องปวดบั้นเอวข้างใดข้างหนึ่ง และปัสสาวะขุ่นบางรายอาจมีอาการถ่ายปัสสาวะแสบขัด และออกกะปริดกะปรอยร่วมด้วย
กาารักษา
รักษาตามอาการ เช่น ยาลดไข้ ให้น้ำเกลือทางหลอดเลือดดำ (กรณีที่ผู้ป่วยกินไม่ได้ หรืออาเจียน ) การให้ยาปฏิชีวนะ นาน 14 วัน
แนะนำให้ผู้ป่วยดื่มน้ำมากๆ เพื่อช่วยขับเชื้ออกทางปัสสาวะ
Hyperthyroid(Graves disease)
สาเหตุ
เกิดจากความผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกันในร่างกาย
อาการ
วิตกกังวลหงุดหงิดง่าย
หัวใจเต้นเร็วกว่าปกติ
ต่อมไทรอยด์โต
มีปัญหาในการนอนหลับ
มีปัญหาในการนอนหลับ
ภาวะแทรกซ้อน
กระดูกพรุน
ปัญหาการตั้งครรภ์อาจทำให้ทารกในครรภ์เจริญเติบโตไม่สมบูรณ์
หัวใจทำงานผิดปกติ
การวินิจฉัย
ตรวจดูการซึมของไอโอดีนของต่อมไทรอยด์
ตรวจเลือด
การตรวจร่างกาย
Acute Glomerulonephritis
อาการและอาการแสดง
Edema บวมทั้งตัว เห็นชัดบริเวณใบหน้าและรอบตา (puffy face)
Oliguria ปัสสาวะออกน้อยกว่า 100 cc/day
Hematuria
Systemic symptoms อาการแสดงเฉพาะระบบคลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้อง เบื่ออาหาร 2-3 วันก็หายอาการทางระบบประสาท เช่น ซึม ปวดศีรษะ ชัก
Hypertension ไม่ควรเกิน 3 สัปดาห์ น่าสงสัย ว่าผู้ป่วยเป็นไตเรื้อรังอยู่ก่อน
Circulatory congestion การคั่งของน้ำใน ระบบหมุนเวียนโลหิต การเพิ่มของน้ำนอกเซลล์
การรักษา
ร้อยละ 70-80 จะหายขาดเนื่องจากอิมมูนคอมเพล็กซ์ถูกขับ ออกทางกระแสเลือดและเนื้อ
เป็นการรักษาแบบประกับประคอง และควรป้องกัน ภาวะแทรกซ้อนที่จะเกิดขึ้น
อาหาร จำกัดเกลือในรายที่บวมและความดันโลหิตสูง
การพักผ่อน bed rest ในรายที่มีความดันโลหิต สูงปานกลางถึงสูงมาก หรือบวมมาก
จำกัดน้ำเมื่อมีปัสสาวะออกน้อยและมีการคั่ง ของ BUN Creatinine
การพยาบาล
ไม่สามารถคงไว้ซึ่งการขับถ่ายปัสสาวะตามปกติได้ เนื่องจากมีการบาดเจ็บของโกลเมอรูรัส
มีน้ำคั่งและมีภาวะไม่สมดุลของอิเล็กโตรไลท์เนื่องจากไตเสียหน้าที่ในการกรองปัสสาวะเสี่ยงต่ออันตรายจากภาวะความดันโลหิตสูง
Nephrotic syndrome
สาเหตุ
Congenital nephrotic syndrome ถ่ายทอดแบบ autosomal recessive อายุแรกเกิดหรือภายใน 3 เดือนแรก
primary nephrotic syndrome เด็กชายมากกว่าเด็กหญิง พบบ่อย 2-7 ปี
secondary nephrotic syndrome กลุ่มทราบสาเหตุ เกิดจาก ยา สารก่อให้เกิดการแพ้ การติดเชื้อ SLE, Henoch schoenleinpurpura, เบาหวาน
อาการ
เส้นผมหยาบและแห้ง ติดเชื้อง่าย พบบ่อยคือไฟลามทุ่ง (cellulitis) เยื่อบุช่องท้องอักเสบ และ septicemia
การบวม
ระบบทางเดินอาหาร
การหายใจลำบาก
การหายใจลำบาก
ความดันโลหิตสูง
หลักสำคัญในการดูแล
การจำกัดกิจกรรม
การให้อาหาร
การดูแลผิวหนัง