Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 4 การพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่มีปัญหาทางโลหิตวิทยาและนีโอพลาสม - Coggle…
บทที่ 4 การพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่มีปัญหาทางโลหิตวิทยาและนีโอพลาสม
บทที่ 4 การพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยเด็กที่มีปัญหาทางโลหิตวิทยา
ภาวะโลหิตจาง (Anemia)
ภาวะซีด แบ่งตามสาเหตุเป็น 3 ชนิด
ภาวะที่มีการทำลายเมด็เลือดแดงมากขึ้น
การเสียเลือด
ภาวะที่มีการสร้างเม็ดเลอืดแดงลดลง
อาการและอาการแสดงของภาวะโลหิตจาง
อาการและอาการแสดงขึ้นอยู่กับความรุนแรงและระยะเวลาของการเกิด ผู้ป่วยที่มีภาวะโลหิตจางอย่างช้าๆจะมี
อาการน้อยกว่าคนที่มีภาวะโลหิตจางที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว
การรักษา
รักษาตามสาเหตุของภาวะโลหิตจาง แต่ละสาเหตุจะมียาและวิธีการรักษาเฉพาะที่แตกต่างกัน
การให้เลือดจะให้เฉพาะรายที่จำเป็น โดยหลีกเลี่ยงอันตรายจากการให้เลือด
โรคโลหิตจางธาลัสซีเมีย (Thalassemia)
สาเหตุ
เกิดจากความผิดปกติของยีนที่ควบคุมการสร้างเส้นโพลีเพปไทด์ที่ประกอบกันเป็นฮีโมโกลบิน ยีนที่ผิดปกตินี้
ถ่ายทอดทางพันธุกรรมแบบ autosomal recessive
ชนิดของธาลัสซีเมีย
Hb Bart’shydrops fetalis หรือ Homozygous α-thalassemia
Homozygous β-thalassemia (β-thal /β-thal)
Hb H disease (α-thal 1 /α-thal 2 หรือ - - / -α, or α-thal 1 / Hb CS หรือ - - /αCSα)
การรักษา
การให้เลือด
การให้ยาขับเหล็ก
ให้ยาบำรุง
การผ่าตัดม้าม
โรคฮีโมฟี เลีย (Hemophilia)
สาเหตุ
เกิดจากความผิดปกติของยีนที่ควบคุมการสร้างปัจจัยการแข็งตัวของเลือด ชนิดที่พบบ่อยในเด็กไทย ได้แก่
hemophilia A ,B
อาการและอาการแสดง
จ้ำเลือดใหญ่ๆ ตามลำตัวและแขนขา
เลือดออกในข้อและในกล้ามเนื้อ เมื่อเริ่มหัดคลาน ตั้งไข่ หรือเดิน ข้อที่มักมีเลือดออกมากที่สุด
เลือดออกเมื่อฟันน้ำนมหลุด
เลือดออกที่อวัยวะอื่นๆ
การรักษา
การดูแลอย่างองค์รวม
การรักษาเฉพาะที่
การรักษาทดแทนด้วยแฟคเตอร์เข้มข้นหรือส่วนประกอบเลือด
การรักษาด้วย DDAVP
การดูแลสุขภาพฟัน
การพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยเด็กที่มีปัญหาทางนีโอพลาสม
มะเร็งเม็ดเลือดขาว (Leukemia)
สาเหตุ
ไม่ทราบแน่นอน แต่พบว่าภาวะเหล่านี้มีอุบัติการณ์ทำให้เกิดมะเร็งเม็ดเลือดขาว ได้แก่ พันธุกรรม การ
ได้รับรังสี เคมี หรือไวรัสบางชนิด การติดเชื้อ
อาการและการแสดง
ตับ ม้าม ต่อมน้ำเหลืองโต
ปวดศีรษะ อาเจียน ตามัว ถ้าเซลล์มะเร็งลุกลามเข้าเนื้อสมอง จะมาด้วยอาการ อ่อนแรง ชัก
อัณฑะโต แข็งแต่ไม่ปวด
อาจพบไตโตกว่าปกติ
อาเจียนหรือถ่ายเป็นเลือด แผลในปาก เหงือกบวม อาจพบฝีที่กัน มีก้อนที่คอหรือในท้อง
ปวดกระดูก ปวดข้อจากเซลล์มะเร็งลุกลามเข้าไปที่ เยื่อหุ้มกระดูก
การรักษา
การให้ยาเคมีบำบัด
การใช้รังสีรักษา
การรักษาด้วยการระตุ้นภูมิคุ้มกัน
การปลูกถ่ายไขกระดูกหรือเซลล์ต้นกำเนิดเม็ดเลือด
การรักษาตามอาการ เช่น การให้เลือด การรักษาภาวะแทรกซ้อนจากยา หรือรังสีรักษา
มะเร็งต่อมน้ำเหลือง (Lymphoma)
สาเหตุ
เชื้อไวรัส โดยเฉพาะ Ebstein-Bar virus (EBV)
การได้รับยากดภูมิคุ้มกันเป็นระยะเวลานานๆ
สิ่งแวดล้อม
อาการและอาการแสดง
ต่อมน้ำเหลืองโต ร้อยละ 90 ต่อมน้ำเหลืองที่บริเวณ Supraclavicle ร้อยละ 60-80
ต่อมน้ำเหลืองบริเวณรักแร
กล้ามเนื้ออ่อนแรง (motor weakness) การรับ สัมผัสลดลง (sensory loss) มีปัสสาวะคั่ง ท้องผูก
เบื่ออาหารอ่อนเพลียน้ำหนัก ลดลงร้อยละ 10 ระยะเวลา 6 เดือนที่ผ่านมา มีใช้ไม่ทราบสาเหตุ ไข้สูง
การรักษา
ขึ้นกับระยะของโรคและอายุของเด็ก การรักษาที่ได้ผลค่อนข้างดี คือ รังสีรักษาและการให้เคมีบำบัด
แต่การให้รังสีรักษาในเด็กที่ยังเจริญเติบโตไม่เต็มที่ จะทำให้มีผลต่อการเจริญเติบโตของกระดูก เกิดความพิการ
มะเร็งของไต (Wilms’tumor, Nephroblastoma)
สาเหตุ
ไม่ทราบแน่นอน แต่เนื่องจากเป็นเนื้องอกที่พบมากในวัยเด็ก จึงเชื่อว่าอาจเกิดการเปลี่ยนแปลงของเนื้อเยื่อชั้น
mesoderm ผิดปกติตั้งแต่ระยะที่ทารกเป็นตัวอ่อน (embryo)
อาการและอาการแสดง
คลำพบก้อนที่ท้อง เป็นอาการที่พบมากที่สุด ก้อนเรียบ กดไม่เจ็บ
ปัสสาวะเป็นเลือดโดยไม่มีอาการปวด
ปวดท้อง มีไข้ เบื่ออาหาร คลื่นไส้อาเจียน (กรณีมีเลือดออกในก้อนมะเร็ง)
ความดันโลหิตสูง
การรักษา
การผ่าตัดเอาก้อนเนื้องอกออก
รังสีรักษา ที่บริเวณตำแหน่งไต
การให้เคมีบำบัด
มะเร็งของเซลล์ประสาท (Neuroblastoma)
สาเหตุ
ไม่ทราบแน่นอน แต่เนื่องจากเป็นเนื้องอกที่พบมากในวัยเด็ก และมีรายงานพบว่ามีผู้ป่ วยหลายคนในครอบครัว
เดียวกัน จึงมีข้อสันนิษฐานว่าอาจมีการถ่ายทอดทางพันธุกรรม
อาการและอาการแสดง
มีก้อนในช่องท้อง หรือส่วนอื่นๆ
มีไข้น้ำหนักลด อ่อนเพลีย รับประทานได้น้อย ถ่ายอุจจาระเหลวบ่อยครั้ง
ต่อมหมวกไตถูกกด
การรักษา
การผ่าตัด ทำในระยะทื่ 1 ,2
การให้รังสีรักษา
การให้ยาเคมีบำบัด ให้ในระยะที่ 2 ขึ้นไป