Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะฉุกเฉินทางสูติศาสตร์, ภาวะที่รกหรือชิ้นส่วนของรก (Retained placenta)…
ภาวะฉุกเฉินทางสูติศาสตร์
รกค้าง
สาเหตุ
- ขาดกลไกของการลอกตัว แบ่งออกไปได้เป็น
1.1 รกปกติ แต่มดลูกไม่มีการหดรัดตัว รกถึงไม่ลอก หรือลอกตัวได้ไม่สมบูรณ์ อาจเนื่องมาจากการคลอดที่ล่าช้า การให้ยาสลบ หรือได้รับยาระงับปวดมากเกินไป มารดาอ่อนเพลีย กระเพาะปัสสาวะเต็ม
1.2 รกผิดปกติ พวกนี้ถึงแม้มดลูกจะมีการหดรัดตัวได้ดีตามปกติ แต่ก็ไม่สามารถลอกออกมาได้ พวกนี้ได้แก่ รกเกาะแน่น (placenta adherent) รกเกาะลึก (placenta accreta) และรกแบน (placenta membranacea) หรือมีรกน้อย ชนิด placenta succenturiata หรือ placenta spurium
- ขาดกลไกของการขับดันให้รกที่ลอกตัวแล้วผ่านออกมาภายนอก
2.1 รกลอกตัวแล้ว แต่ไม่อาจผ่านออกมาจากโพรงมดลูกส่วนบนได้ เนื่องมาจากการหดรัดตัวที่ผิดปกติของมดลูก เช่น cervical cramp และ contriction ring เป็นต้น
2.2 รกลอกตัวแล้ว และผ่านโพรงมดลูกออกมาอยู่ในช่องคลอดแล้วแต่ไม่ผ่านออกมาภายนอกเนื่องจากผู้คลอดไม่เบ่งขับไล่ออกมาตามธรรมชาติของการคลอดเองของรก หรือผู้คลอดไม่ผลักไล่รกที่ลอกตัวแล้วให้คลอดออกมา
-
-
3.3 เคยทำหัตถการที่ส่งเสริมให้เกิดภาวะรกค้าง เช่น เคยผ่าตัดท้องคลอด หรือผ่าตัดเอาก้อนเนื้องอกออกจากโพรงมดลูก (myomectomy) หรือเคยขูดมดลูกมาก่อน
-
3.5 รกเกาะแน่น (placenta adherent) ไม่สามารถหลุดลอกออกมาได้ เพราะมดลูกหดรัดตัวไม่ดี (ineffective uterine contractions) :
3.6 รกเกาะแน่นและรกเกาะลึกกว่าชั้น decidual basalis ซึ่งแยกยากกว่ารกลอกตัวไม่ดีหรือไม่มีการลอกตัวของรก รกฝังตัวลึกกว่าปกติ
-
มดลูกแตก
สาเหตุ
- ความผิดปกติของมดลูกก่อนการตั้งครรภ์ครั้งนี้ ไ
- เคยผ่าตัดที่ตัวมดลูกมาก่อน
- เคยผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องในครรภ์ที่ผ่านมาโดยเฉพาะผ่าตัดที่ตัวมดลูกแบบดั้งเดิม (classical caesarean section) ร้อยละ 92 พบว่า ภาวะมดลูกแตกเกิดในรายที่เคยผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องในครรภ์ก่อน
- มีภาวะมดลูกแตกและได้รับการเย็บซ่อมแซมแล้ว
-
- เคยผ่าตัดเย็บซ่อมแซมมดลูก
- มีการเจริญพัฒนาผิดปกติของตัวมดลูก
- การบาดเจ็บ/ความผิดปกติของมดลูกในการตั้งครรภ์ครั้งนี้
-
-
-
ชนิดของภาวะมดลูกแตก
- มดลูกแตกแบบสมบูรณ์ (complete uterine rupture)
ภาวะที่มดลูกแตกตลอดทั้ง 3 ชั้นของผนังมดลูก จนเกิดการติดต่อระหว่างภายในโพรงมดลูกกับช่องท้อง ทำให้บางส่วนของทารกหลุดเข้าไปในช่องท้อง
- มดลูกแตกแบบไม่สมบูรณ์ (incomplete uterine rupture)
ภาวะที่มดลูกมีการแตกแต่ไม่ทะลุถึงช่องท้อง การฉีกขาดจะเกิดในชั้นเยื่อบุมดลูก กล้ามเนื้อมดลูก ยกเว้นเยื่อบุช่องท้อง ทำให้ทารกยังคงอยู่ภายในโพรงมดลูก
อาการและอาการแสดง
- อาการและอาการแสดงที่เตือนให้ทราบว่ามดลูกใกล้จะแตก
-
-
-
1.4 มีอาการปวดท้องอย่างรุนแรง อาจมีอาการคลื่นไส้ อาเจียน กระสับกระส่ายกระวนกระวาย ชีพจรเบาเร็ว หรือหายใจติดขัด แน่นหน้าอก
-
-
1.7 ตรวจภายในช่องคลอด พบว่า ไม่มีความก้าวหน้าของการคลอด ส่วนนำไม่เคลื่อนต่ำ ปากมดลูกอยู่สูงขึ้นเนื่องจากถูกดึงรั้งขึ้นไป ปากมดลูกบวม คลำพบก้อนโนบริเวณศีรษะทารกและมีขนาดใหญ่
-
- อาการและอาการแสดงว่ามดลูกแตก
-
2.2 ท้องโป่งตึง ปวดท้องอย่างรุนแรง รู้สึกอึดอัดเนื่องจากเลือด น้ำคร่ำ และตัวทารก ก่อความระคายเคืองต่อเยื่อบุช่องท้อง
-
-
2.5 ถ้ามดลูกมีการแตกเป็นบางส่วน เลือดจะออกช้า อาการแสดง เช่น ซีด ตัวเย็น เหงื่อออก ชีพจรเต้นเบาเร็ว ความดันโลหิตลดต่ำลง ช็อก จะเกิดได้ช้ากว่าการแตกแบบสมบูรณ์
2.6 เจ็บบริเวณหน้าอก ไหปลาร้า จนถึงหัวไหล่ขณะหายใจเข้า เนื่องจากเลือดในช่องท้องไปดันกะบังลมจึงเกิดอาการปวดร้าวไปตามเส้นประสาทฟรีนิก
-
-
-
-
ภาวะแทรกซ้อน
ภาวะแทรกซ้อนต่อมารดา
-
- มีภาวะติดเชื้อ อาจทำให้เยื่อบุช่องท้องอักเสบ
- ผลกระทบต่อจิตใจของผู้คลอดและครอบครัว
-
ภาวะแทรกซ้อนต่อทารก
- ทารกได้รับบาดเจ็บจากการช่วยคลอดด้วยสูติศาสตร์หัตถการอย่างเร่งด่วน
- ทารกขาดออกซิเจนอย่างรุนแรง
- เสียชีวิตได้อย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะกรณีมดลูกแตกอย่างสมบูรณ์และตัวทารกเข้ามาอยู่ในช่องท้อง
ภาวะที่รกหรือชิ้นส่วนของรก (Retained placenta) ไม่คลอดออกมาภายหลังทารกคลอด (การคลอดระยะที่ 3 ส่วนใหญ่จะสิ้นสุดใน 5-10 นาที ภายหลังทารกเกิดแต่ไม่ควรเกิน 30 นาที)
การฉีกขาด การแยก การแตก หรือการทะลุของมดลูกในระยะตั้งครรภ์ ขณะรอคลอด หรือขณะคลอด หลังจากที่ทารกโตพอจะมีชีวิตอยู่ได้ หรือหลังจากอายุครรภ์ 28 สัปดาห์