Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 6 การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบทางเดินอาหาร, image, image, image,…
บทที่ 6 การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบทางเดินอาหาร
อุจจาระร่วง (diarrhea)
ถ่ายอุจจาระเป็นน้า 3 ครั้งต่อวันหรือมากกว่า
ถ่ายมีมูก หรือมีมูกปนเลือดอย่างน้อย 1 ครั้ง
ถ่ายเป็นน้า ปริมาณมากๆ จา นวนมากกว่า 1 ครั้งขึ้นไปใน 1 วัน
ชนิดของอุจจาระร่วง
อุจจาระร่วงเฉียบพลัน (acute diarrhea) อุจจาระร่วงเฉียบพลัน ใน 24 ชม.
อุจจาระร่วงยืดเยื้อ (persistent diarrhea) เกิดจากการติดเชื้อในลา ไส้ นานเกิน 2 สัปดาห์
อุจจาระร่วงเรื้อรัง (chronic diarrhea) ถ่ายอุจจาระร่วงติดต่อกันทุกวัน นานมากกว่า 3 สปั ดาห์
สาเหตุ
การติดเชื้อ
ขาดเอนไซม์และน้าย่อย
การดูดซึมบกพร่อง
การจาแนกตามลักษณะอุจจาระ
อุจจาระเป็นน้า
1.1 Secretory diarrhea
1.2.Osmotic diarrhea
อุจจาระเป็นมูกหรือมูกปนเลือด
อาการและอาการแสดง
ถ่ายอุจจาระเหลว
อาการขาดนา้
2.1. ขาดนา้ ระดับเล็กน้อย
2.2 ขาดนา้ ระดับปานกลาง
2.3. ขาดนา้ ระดับรุนแรง
การรักษา
รักษาภาวะขาดน้า
(rehydration therapy)
1.2 ระยะคงไว้ซึ่งความสมดุลของ
สารน้า และเกลือแร่
ป้องกันมิให้เกิดภาวะขาดน้า
อา
กำจัดเชื้อออกจากลำไส้
ภาวะอักเสบของกระเพาะอาหาร (Gastritis)
สาเหตุ
เกิดจาก
Helicobacter pylori
การรับประทานยา NSAID
ความเครียด (stress)
รับประทานอาหารรสจัด
การสูบบุหรี่ ดื่มสุรา
อุบัติเหตุรุนแรง (severe
trauma)
การรักษา
Histamine receptor antagonists
Antacids
กรณีกินไม่ได้ให้สารนา้ ทดแทน มีเลือดออกให้เลือด
กรณีbleeding ให้ Lavage ใช้นา้ ที่มีอุณหภูมิห้องหรือsaline
กรณีที่รุนแรงให้ Hormone : Vasopassin (Pitressin)
ใช้ laser therapy เพื่อหยุดการมีเลือดออกเฉพาะที่
โรคกระเพาะอาหารและลำไสอั้กเสบ (Gastroenteritis)
อาการและอาการแสดง
อุจจาระร่วงเฉียบพลัน
คล่นื ไส้อาเจียน
ปวดท้องอย่างรุนแรง
ไข้สูง ครั่นเนื้อครั่นตัว หนาวสั่น
การรักษา
รักษาตามอาการ เช่น รักษาภาวะขาดน้า ให้ยาลดไข้ในเด็กที่มีภูมิต้านทานต่า ทารกแรกเกิดหรือเด็กมีภาวะSepticemia
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
เสียสมดุลของสารน้า และอิเล็กโตทรไลต์จากการสูญเสียทางอุจจาระ
และอาเจียนเนื่องจากการดูดซึมน้า ของลา ไส้ขาดประสิทธิภาพ
ผู้ป่วยอาจได้รับอาหารทดแทนไม่เพียงพอ เนื่องจากระบบทางเดิน
อาหารทา หน้าที่บกพร่อง และรับประทานได้น้อย
เสี่ยงต่อการเกิดการแพร่กระจายเชื้อเนื่องจากเป็นโรคที่ติดต่อได้ง่าย
ทางอาหารและน้า
ลำไส้ใหญ่โป่งพองแต่กำเนิด
(Hirschsprung's)
เกิดจากการขาดเซลล์ประสาทพาราซิมพาเธติกganglionic cellsมาเลี้ยงลา ไส้ใหญ่mesentericทางเดินอาหารบริเวณrectosigmoid colonขาดการเคล่อืนไหวแบบ peristalsis
อาการและอาการแสดง
ถ่ายข้เีทาช้า หรือไม่ถ่ายขี้เทาหลัง
คลอด 24 ชม.
ถ่ายยาก อุจจาระมีก้อนเล็กแข็ง
ท้องผูก
อาเจียนมีสีน้า ดีปน
ท้องอืดมากๆ จะดันกะบังลมสูง ทา
ให้เด็กหายใจลา บาก
ภาวะแทรกซ้อนก่อนผ่าตัด
ลา ไส้อักเสบ (enterocolitis)
การแตกทะลุ (perforation) ของลา ไส้
เยื่อบุช่องท้องอักเสบ
การรักษา
การรักษาประคับประคองสวน
ล้างลาไส้ด้วย normal saline
การผ่าตัดเอาลาไส้ใหญ่มาเปิด
ที่หน้าท้อง (colostomy)
การผ่าตัดเพื่อการรักษา
(definitive procedure)
ลำไส้กลืนกัน (intussusception)
ลา ไส้ส่วนต้นมุดตัวเข้าไปสู่ lumen ลา ไส้ใหญ่ที่อยู่ถัดไป
ด้านปลาย ลา ไส้แคบลงจนปิดสนิท ทา ให้ทางเดินอาหารอุดกั้น
อาการและอาการแสดง
ปวดท้องแบบบิด (colicky) เด็กจะกรีดร้อง งอเข่า ยก
เท้าสูง ตัวเกร็ง
อาเจียนตลอด ช่วงแรกเป็นเศษอาหารต่อมาเป็นนา้ ย่อยสี
นา้ ดีปน
ถ่ายอุจจาระเป็นมูกปนเลือด เหมือนแยมหรือคล้ายเยลลี่
(mucous-bloody or Currant jelly stool)
คลา พบก้อนในช่องท้องเป็นก้อนโค้งยาวคล้ายไส้กรอกที่ช่องท้องด้านบนขวา และคลา ช่องท้องด้านขวาล่างว่าง(Dance's sign)
ซึม (lethargy) รู้สึกตัวลดลง มีไข้ เยื่อบุช่องท้องอักเสบ
การรักษา
การรักษาโดยไม่ผ่าตัด ทา hydrostatic
reductionโดยการสวนแบเรียมหรือ NSS เข้าทางทวารหนัก ดันให้
ลา ไส้ให้หลุดออกจากกัน
การรักษาโดยการผ่าตัด เปิดหน้าท้อง
ไส้เลื่อนกะบังลม
(Diaphragmatie Hernia)
อวัยวะในช่องท้องเล่อื นขึ้นไปอยู่ในช่องทรวงอก ผ่านรูโหว่
ในกะบังลม
อาการและอาการแสดง
ทารกแรกเกิดนา้ หนักน้อย หลังเกิดมีอาการหายใจลา บาก (respiratory distress) หายใจเร็ว หอบ เขียว
เวลาร้องแล้วตัวเขียวเพราะลมเข้ากระเพาะอาหารขยาย
กดปอด
ตรวจร่างกาย พบอกป่อง ท้องแฟบ (Scaphoid
abdomen) เสียงลมเข้าปอด
การรักษา
การดูแลรักษาก่อนผ่าตัด
1.1. ดูแลเรื่องอุณหภูมิกายต่า
1.2 ใส่สายสวนกระเพาะอาหาร
1.3 ใส่ท่อช่วยหายใจ ให้ออกซิเจน
1.4 ให้ยาคลายกล้ามเนื้อ
1.5 ติดตามผลการวิเคราะห์ก๊าซในกระแสเลือด
การผ่าตัด
ผ่านทางช่องท้องดึงอวัยวะในช่องท้องกลับมา เย็บซ่อมแซมกะบังลม
การดูแลหลังการ
ผ่าตัด
ใช้เครื่องช่วยหายใจต่อไประยะหนึ่งเพื่อป้องกันภาวะ PFC
ความพิการของผนังหน้าท้องแต่กำเนิด
(Omphalocele)
Omphalocele เป็นความผิดรูปแต่กา เนิดของผนังหน้าท้อง มีการสร้างผนังหน้าท้องไม่สมบูรณ์ ไม่มีกล้ามเนื้อหน้าท้อง และผิวหนัง
อาการและอาการแสดง
ทารกมีถุง omphalocele ติดอยู่กับผิวหนัง
กลางท้อง ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 4 - 10 ซม
พบในเพศชายมากกว่าเพศหญิง
การรักษา Omphalocele และ Gastroschisis
การรักษาแบบประคับประคอง โดยใช้povidine ทาที่ผนังถุง
การรักษาด้วยการผ่าตัด ได้แก่ 1. Primary fascial closure 2. Staged repair
การรักษาหลังผ่าตัด : การช่วยหายใจ การให้สารนา้ สารอาหารทางหลอดเลือดดา การป้องกนัการติดเชื้อบริเวณแผลผ่าตัด และ ติดตามผลการรักษา
ความพิการของผนังหน้าท้องแต่กำเนิด
(Gastroschisis)
เป็นความพิการของผนังหน้าท้อง เกิดจากขาดเลือดไปเลี้ยงกล้ามเนื้อจึงไม่เจริญ ผนังหน้าท้องแยกออกจากกัน สายสะดือติดกับผนังหน้าท้องในตา แหน่งปกติ ไม่พบถุงหุ้ม (sac)ความพิการมักอยู่ด้านขวาของสะดือ ทารกตวั
เล็ก เกิดก่อนกาหนด
อาการและอาการแสดง
ทารกมีน้า หนักตัวน้อย
ลา ไส้สั้น ลา ไส้ผิดรูปตีบหรือตัน
หลังคลอดพบทางเดินอาหารทะลักผ่านรูแคบ ด้านขวา
ของสายสะดือออกมาอยู่นอกผนังหน้าท้อง
antenatal ลา ไส้ออกมาอยู่นอกช่องท้อง
ตั้งแต่ในครรภ์มารดา
prenatal ลา ไส้ออกมาอยู่นอกช่องท้องใน
หลังการเจริญเติบโต