Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเยี่ยมบ้านและโรคเรื้อรัง, นางสาวรินรดา อยู่สวัสดิ์ ชั้นปีที่ 3…
การเยี่ยมบ้านและโรคเรื้อรัง
Home Visit การเยี่ยมบ้าน
ประเภทของการเยี่ยมบ้าน
เยี่ยมบ้านเพื่อติดตามผู้ป่วยหลังออกจากโรงพยาบาล (Hospitalization follow-up home visits)
เยี่ยมบ้านคนใกล้ตาย (End of life home visits)
เยี่ยมบ้านผู้ป่วย (Illness home visits)
เยี่ยมบ้านเพื่อประเมินสภาวะสุขภาพ (Assessment home visits)
INHOMESSS
Medications
การประเมินเรื่องการใช้ยาจากรพ./อนามัย/ท้องที่
Examinations
ประเมินภาวะสุขภาพ
Housing
ลักษณะภายใน ภายนอกบ้านและสิ่งแวดล้อม
Other people Family genogram, Family life cycle, Caregiver
Safety
ความปลอดภัยภายในบ้านของครอบครัว
Nutrition
ภาวะโภชนาการ
Services
การให้บริการดูแลสุขภาพในชุมชน
Immobility
ประเมินการดำเนินกิจวัตรประจำวันขั้นพื้นฐาน
Spiritual health
ประเพณีความเชื่อต่างๆ ที่มีอิทธิพลต่อการดํารงชีวิต
ความหมาย
รูปแบบการบริการที่เป็นส่วนหนึ่งของ การบริการดูแลสุขภาพที่บ้าน โดยแพทย์จะออกไปเยี่ยมผู้ป่วยและครอบครัวที่บ้าน อาจ ไปเยี่ยมครั้งแรกเพื่อประเมินสภาพความเจ็บป่วยของผู้ป่วยและครอบครัว หลังจากนั้น อาจจะกลับไปเป็นระยะๆเมื่อผู้ป่วยหรือทีมต้องการ
NCDs โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
โรคความดันโลหิตสูง
Goal
140/90 mmHg
วินิจฉัย
140/90 mmHg
เฝ้าระวังผลข้างเคียงจากการใช้ยา
Losartan: hyperkalemia
Amlodipine: ขาบวมกดบุ๋ม
Enalapril : ไอ คันคอ hyperkalemia
Atenolol, Propranolol: bradycardia
HCTZ: hypokalemia, hyperuricemia
โรคไตเรื้อรัง
การชะลอโรคไตเรื้อรัง
ลดอาหารที่มีโซเดียมเกิน / ลดเค็ม
ไม่สูบบุหรี่
ออกกำลังกาย
ไม่ดื่มสุรา
รักษาโรคประจำตัว
ควบคุมระดับน้ำตาลก่อนอาหาร 80-130 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตรหรือน้ำตาลสะสมไม่เกิน 7%
ควบคุมความดันโลหิตไม่เกิน 130 - 140/80-90
หลีกเลี่ยงการทานยาชุด ยาต้ม ยาหม้อ ยากระจายเส้น ยาสมุนไพรต่างๆ
โรคเบาหวาน
การคัดกรองเบาหวาน
อายุ 35 ปีขึ้นไป
ผู้ป่วย ความดันโลหิตสูง
มีระดับไขมันในเลือดผิดปกติ (TG 250 มก/ ดล และ / หรือ HDL <35 มก / ดล)
มีประวัติเป็นโรคเบาหวานขณะตั้งครรภ์หรือเคยคลอดบุตรน้ำหนักเกิน 4 กิโลกรัม
เคยได้รับการตรวจพบว่าเป็น IGT หรือ IFG
ผู้ที่อ้วนและมีพ่อแม่พี่หรือน้องเป็นโรคเบาหวาน
อ้วนหมายถึง BMI 25 กก / ม และ / หรือรอบเอวเท่ากับหรือมากกว่า 90 ซม ในผู้ชายหรือเท่ากับหรือมากกว่า 80 ซม ในผู้หญิงหรือมากกว่าส่วนสูงหารด้วย 2 ทั้งสองเพศ
ผู้ป่วย cardiovascular disease
ผู้ป่วย polycystic ovarian syndrome
เฝ้าระวังการใช้ยาผู้ป่วย
ยาฉีด: การออกฤทธิ์การเก็บรักษาผลข้างเคียงที่พบบ่อยคือภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำและน้ำหนักตัวขึ้น
ยากิน: ตรวจสอบการทานยาตรงตามคำสั่งแพทย์การจัดยาการเก็บรักษา
Metformin ผลข้างเคียงที่พบบ่อยคือ Gl side effects น้ำหนักลด
Glipizide ผลข้างเคียงที่พบบ่อยคือภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำน้ำหนักเพิ่ม
Goal
DTX (FBS) 80-130 มก/ดล
HbA1C < 7%
นางสาวรินรดา อยู่สวัสดิ์ ชั้นปีที่ 3 รหัสนักศึกษา 61128301043